วันอาทิตย์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2557

เรียงความเรื่อง หาดนราทัศน์

                                              เรียงความเรื่อง หาดนราทัศน์ (ครั้งที่ 3)

                                 

                   หาดนราทัศน์ เป็นหาดทรายขาวสะอาดยาวประมาณ 5 กิโลเมตร ไปสิ้นสุดที่ปลายแหลมด้านปากแม่น้ำบางนรา ซึ่งใช้เป็นสถานที่จัดการแข็งขันเรือกอและที่จัดขึ้นประจำปีด้วย แนวสนทำให้บรรยากาศริมทะเลรื่นมากขึ้น ชาวบ้านนิยมมาพักผ่อนหย่อนใจกันที่นี่ ใกล้ๆ กันมีหมู่บ้านชาวประมงตั้งกระจัดกระจายตามริมแม่น้ำบางนรา และบริเวณเวิ่งอ่าวมีเรือกอและของชาวประมงจอดอยู่มาอมาย อยู่เลยจากตัวเมืองนราธิวาสไปตามถนนสายพิชิตบำรุงประมาณ 1 กิโลเมตร นักท่องเที่ยวสามารถใช้บริการรถจักรยานยนต์ รถสามล้อถีบ หรือ รถสองแถวเล็ก จากตัวเมืองนราธิวาสไปยังหาดนราทัศนได้สะดวก และมีฝุงปลามากมาย และทะเลใสโดยนักท่องเที่ยวมาเล่นอย่างสนุกสนาน
                  นอกจากนี่ยังมีร้านอาหารหลายร้านที่ตั้งอยู่ แต่ละร้านก็จะมีของเด็ดขายแต่ละร้าน และยังมีร้านขายของต่างๆ เช่น ร้านขายเสื้อราคาถูก และยังมีร้านขายของ ขายรองเท้าราคาถูกอีกมากมาย แลยังมีสนามเด็กเล่น ก็จะมีเด็กๆมาเล่นเป็นอย่างมาก และยังมีร้านขายของเล่นของเด็กๆอีกมากมาย และในช่วงเทศการรายอทุกๆปี หาดนราทัศน์ก็จะจัดงานเทศการวันรายอก็จะมีการปาโป่งและการละเล่นต่างๆ ที่สนุกสนาน และมีผู้คนเป็นสวนมากไปที่หาดนราทัศน์ ไปเที่ยวไปเล่นน้ำ และทุกคนก็พาผู้ปกครองหรือครอบครัวไป เพราะที่นั้นก็มีน้ำใสสะอาดและมีของเล่นมากมายและมีร้านอาหารที่อร่อยๆ บางร้าน แต่บางร้านก็จะมีรสเด็ดและอร่อยน่ากินมากๆ


            หาดนราทัศน์ เป็นชายหาดที่สวยที่สุดของจังหวัดนราธิวาส และเป็นจุดรวมของความงามที่ธรรมชาติสร้างสรรค์ขึ้น ทั้งบนเกาะที่เต็มไปด้วยป่าที่อุดมสมบูรณ์ ในน้ำก็งดงามไปด้วยฝูงปลามากมายหลายชนิด และหาดนราทัศน์ยังสามารถเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจแกผู้ที่ต้องการพักอีกด้วย และหาดจะมีทรายสีขาว และชายหาดก็จะมีความโค้ ยาวต่อเนื่องประมาณ 5 กิโลเมตร และยังมีเขื่อนกันคลื่นทีเป็นที่เด็นของที่นี่ และยังมีหมู่บ้านของชาประมง และทุกๆ ปีก็จะจัดงานเทศการวันรายอ และจะมีการเล่นกมส์ต่างๆ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าถึงความรัก และความสามัคคีของคนในจังหวัดนราธิวาส และชาวบ้านก็จะออกมาขาย อาหารทะเลซึ่งราคาย่อมเยาว์





เรียงความเรื่อง จังหวัดนราธิวาส

                                                                                                                             เรียงความเรื่อง  จังหวัดนราธิวาส(ครั้งที่๑)





             ประวัติเมืองนราธิวาส เดิมมีฐานะเป็นเพียงอำเภอหนึ่ง เรียกว่า อำเภอบางนรา ขึ้นอยู่กับเมืองสายบุรี ต่อมาได้โอนไปขึ้นกับเมืองระแงะ ดังนั้นการที่จะทราบถึงประวัติความเป็นมาของเมือง
นราธิวาส จะต้องกล่าวถึงเรื่องราวของเมืองปัตตานี เมืองสายบุรีและเมืองระแงะ ซึ่งเป็นบริเวณหัวเมือง เป็นลำดับติดต่อกันไปในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้มีรับสั่งให้กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ยกกองทัพหลวงลงมาปักษ์ใต้ เพื่อปราบปรามข้าศึกที่ยกเข้ามารุกรานพระราชอาณาเขตทางใต้ เมื่อข้าศึกแตกพ่ายหนีไปหมดแล้วจึงได้เสด็จไปประทับ ณ เมืองสงขลา แล้วได้มีรับสั่งออกไปถึงหัวเมืองมลายูทั้งหลาย ซึ่งเคยเป็นเมืองขึ้นกับกรุงศรีอยุธยามาแต่ก่อนให้มาอ่อนน้อมเห
             พระยาไทรบุรี พระยาตรังกานู ยอมอ่อนน้อมโดยดี แต่พระยาปัตตานีตั้งแข็งเมืองไม่ยอมอ่อนน้อม จึงได้รับสั่งให้ยกกองทัพลงไปตีเมืองปัตตานี เมื่อได้เมืองปัตตานีแล้ว ก็โปรดเกล้าพระราชทานตราตั้งให้พระยาสงขลา (บุญฮุย) เป็นพระยาปัตตานี และให้อยู่ในความกำกับดูแลของเมืองสงขลาต่อไป และตั้งให้เป็นเมืองตรี ขึ้นอยู่กับกรุงรัตนโกสินทร์โดยตรง ในระหว่างที่พระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย) ว่าราชการเมืองปัตตานีอยู่นั้น บ้านเมืองสงบเรียบร้อยเป็นปกติสุขตลอดมาครั้นต่อมาเมื่อพระยาปัตตานี  (ขวัญซ้าย) ถึงแก่กรรมลง โปรดเกล้าฯ ให้นายพ่าย    น้องชายของพระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย) ขึ้นว่าราชการเป็นพระยาปัตตานีและแต่งตั้งให้นายยิ้มซ้าย บุตร
พระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย)  เป็นหลวงสวัสดิภักดี ผู้ช่วยราชการเมืองปัตตานี และได้ย้ายที่ว่าการเมืองปัตตานีจากบ้านมะนา (อ่าวนาเกลือ) ไปตั้งที่บ้านยามู
             ในระหว่างนั้นพวกซาเห็ดรัตนาวงศ์ฯ และพวกโมเซฟได้เริ่มก่อกวนความสงบสุขของบ้านเมือง โดยคบคิดกันเข้าปล้นบ้านพระยาปัตตานี (พ่าย) และบ้านหลวงสวัสดิภักดี (ยิ้มซ้าย) ผู้ช่วยราชการเมืองปัตตานี แต่ก็ได้ถูกตีถอยหนีไปหลบซ่อนตัวอยู่ที่ตำบลบ้านกะลาพอ เขตเมืองสายบุรีนอกจากนั้นเมืองปัตตานีมีอาณาเขตกว้างขวาง      และมีโจรผู้ร้ายปล้นบ้านเรือนราษฎร

                                               เรียงความเรื่ิอง  จังหวัดนราธิวาส(ครั้งที่๒)







ประวัติเมืองนราธิวาส เดิมมีฐานะเป็นเพียงอำเภอหนึ่ง เรียกว่า อำเภอบางนรา ขึ้นอยู่กับเมืองสายบุรี ต่อมาได้โอนไปขึ้นกับเมืองระแงะ ดังนั้นการที่จะทราบถึงประวัติความเป็นมาของเมือง
นราธิวาส จะต้องกล่าวถึงเรื่องราวของเมืองปัตตานี เมืองสายบุรีและเมืองระแงะ ซึ่งเป็นบริเวณหัวเมือง เป็นลำดับติดต่อกันไปในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้มีรับสั่งให้กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ยกกองทัพหลวงลงมาปักษ์ใต้ เพื่อปราบปรามข้าศึกที่ยกเข้ามารุกรานพระราชอาณาเขตทางใต้ เมื่อข้าศึกแตกพ่ายหนีไปหมดแล้วจึงได้เสด็จไปประทับ ณ เมืองสงขลา แล้วได้มีรับสั่งออกไปถึงหัวเมืองมลายูทั้งหลาย ซึ่งเคยเป็นเมืองขึ้นกับกรุงศรีอยุธยามาแต่ก่อนให้มาอ่อนน้อมเห
             พระยาไทรบุรี พระยาตรังกานู ยอมอ่อนน้อมโดยดี แต่พระยาปัตตานีตั้งแข็งเมืองไม่ยอมอ่อนน้อม จึงได้รับสั่งให้ยกกองทัพลงไปตีเมืองปัตตานี เมื่อได้เมืองปัตตานีแล้ว ก็โปรดเกล้าพระราชทานตราตั้งให้พระยาสงขลา (บุญฮุย) เป็นพระยาปัตตานี และให้อยู่ในความกำกับดูแลของเมืองสงขลาต่อไป และตั้งให้เป็นเมืองตรี ขึ้นอยู่กับกรุงรัตนโกสินทร์โดยตรง ในระหว่างที่พระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย) ว่าราชการเมืองปัตตานีอยู่นั้น บ้านเมืองสงบเรียบร้อยเป็นปกติสุขตลอดมาครั้นต่อมาเมื่อพระยาปัตตานี  (ขวัญซ้าย) ถึงแก่กรรมลง โปรดเกล้าฯ ให้นายพ่าย    น้องชายของพระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย) ขึ้นว่าราชการเป็นพระยาปัตตานีและแต่งตั้งให้นายยิ้มซ้าย บุตร
พระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย)  เป็นหลวงสวัสดิภักดี ผู้ช่วยราชการเมืองปัตตานี และได้ย้ายที่ว่าการเมืองปัตตานีจากบ้านมะนา (อ่าวนาเกลือ) ไปตั้งที่บ้านยามู
             ในระหว่างนั้นพวกซาเห็ดรัตนาวงศ์ฯ และพวกโมเซฟได้เริ่มก่อกวนความสงบสุขของบ้านเมือง โดยคบคิดกันเข้าปล้นบ้านพระยาปัตตานี (พ่าย) และบ้านหลวงสวัสดิภักดี (ยิ้มซ้าย) ผู้ช่วยราชการเมืองปัตตานี แต่ก็ได้ถูกตีถอยหนีไปหลบซ่อนตัวอยู่ที่ตำบลบ้านกะลาพอ เขตเมืองสายบุรีนอกจากนั้นเมืองปัตตานีมีอาณาเขตกว้างขวาง      และมีโจรผู้ร้ายปล้นบ้านเรือนราษฎร



เรียงความเรื่อง  จังหวัดนราธิวาส(ครั้งที่๓)




ประวัติเมืองนราธิวาส เดิมมีฐานะเป็นเพียงอำเภอหนึ่ง เรียกว่า อำเภอบางนรา ขึ้นอยู่กับเมืองสายบุรี ต่อมาได้โอนไปขึ้นกับเมืองระแงะ ดังนั้นการที่จะทราบถึงประวัติความเป็นมาของเมือง
นราธิวาส จะต้องกล่าวถึงเรื่องราวของเมืองปัตตานี เมืองสายบุรีและเมืองระแงะ ซึ่งเป็นบริเวณหัวเมือง เป็นลำดับติดต่อกันไปในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้มีรับสั่งให้กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ยกกองทัพหลวงลงมาปักษ์ใต้ เพื่อปราบปรามข้าศึกที่ยกเข้ามารุกรานพระราชอาณาเขตทางใต้ เมื่อข้าศึกแตกพ่ายหนีไปหมดแล้วจึงได้เสด็จไปประทับ ณ เมืองสงขลา แล้วได้มีรับสั่งออกไปถึงหัวเมืองมลายูทั้งหลาย ซึ่งเคยเป็นเมืองขึ้นกับกรุงศรีอยุธยามาแต่ก่อนให้มาอ่อนน้อมเห
             พระยาไทรบุรี พระยาตรังกานู ยอมอ่อนน้อมโดยดี แต่พระยาปัตตานีตั้งแข็งเมืองไม่ยอมอ่อนน้อม จึงได้รับสั่งให้ยกกองทัพลงไปตีเมืองปัตตานี เมื่อได้เมืองปัตตานีแล้ว ก็โปรดเกล้าพระราชทานตราตั้งให้พระยาสงขลา (บุญฮุย) เป็นพระยาปัตตานี และให้อยู่ในความกำกับดูแลของเมืองสงขลาต่อไป และตั้งให้เป็นเมืองตรี ขึ้นอยู่กับกรุงรัตนโกสินทร์โดยตรง ในระหว่างที่พระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย) ว่าราชการเมืองปัตตานีอยู่นั้น บ้านเมืองสงบเรียบร้อยเป็นปกติสุขตลอดมาครั้นต่อมาเมื่อพระยาปัตตานี  (ขวัญซ้าย) ถึงแก่กรรมลง โปรดเกล้าฯ ให้นายพ่าย    น้องชายของพระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย) ขึ้นว่าราชการเป็นพระยาปัตตานีและแต่งตั้งให้นายยิ้มซ้าย บุตร
พระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย)  เป็นหลวงสวัสดิภักดี ผู้ช่วยราชการเมืองปัตตานี และได้ย้ายที่ว่าการเมืองปัตตานีจากบ้านมะนา (อ่าวนาเกลือ) ไปตั้งที่บ้านยามู
             ในระหว่างนั้นพวกซาเห็ดรัตนาวงศ์ฯ และพวกโมเซฟได้เริ่มก่อกวนความสงบสุขของบ้านเมือง โดยคบคิดกันเข้าปล้นบ้านพระยาปัตตานี (พ่าย) และบ้านหลวงสวัสดิภักดี (ยิ้มซ้าย) ผู้ช่วยราชการเมืองปัตตานี แต่ก็ได้ถูกตีถอยหนีไปหลบซ่อนตัวอยู่ที่ตำบลบ้านกะลาพอ เขตเมืองสายบุรีนอกจากนั้นเมืองปัตตานีมีอาณาเขตกว้างขวาง      และมีโจรผู้ร้ายปล้นบ้านเรือนราษฎร
ประวัติเมืองนราธิวาส เดิมมีฐานะเป็นเพียงอำเภอหนึ่ง เรียกว่า อำเภอบางนรา ขึ้นอยู่กับเมืองสายบุรี ต่อมาได้โอนไปขึ้นกับเมืองระแงะ ดังนั้นการที่จะทราบถึงประวัติความเป็นมาของเมือง
นราธิวาส จะต้องกล่าวถึงเรื่องราวของเมืองปัตตานี เมืองสายบุรีและเมืองระแงะ ซึ่งเป็นบริเวณหัวเมือง เป็นลำดับติดต่อกันไปในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้มีรับสั่งให้กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ยกกองทัพหลวงลงมาปักษ์ใต้ เพื่อปราบปรามข้าศึกที่ยกเข้ามารุกรานพระราชอาณาเขตทางใต้ เมื่อข้าศึกแตกพ่ายหนีไปหมดแล้วจึงได้เสด็จไปประทับ ณ เมืองสงขลา แล้วได้มีรับสั่งออกไปถึงหัวเมืองมลายูทั้งหลาย ซึ่งเคยเป็นเมืองขึ้นกับกรุงศรีอยุธยามาแต่ก่อนให้มาอ่อนน้อมเห
             พระยาไทรบุรี พระยาตรังกานู ยอมอ่อนน้อมโดยดี แต่พระยาปัตตานีตั้งแข็งเมืองไม่ยอมอ่อนน้อม จึงได้รับสั่งให้ยกกองทัพลงไปตีเมืองปัตตานี เมื่อได้เมืองปัตตานีแล้ว ก็โปรดเกล้าพระราชทานตราตั้งให้พระยาสงขลา (บุญฮุย) เป็นพระยาปัตตานี และให้อยู่ในความกำกับดูแลของเมืองสงขลาต่อไป และตั้งให้เป็นเมืองตรี ขึ้นอยู่กับกรุงรัตนโกสินทร์โดยตรง ในระหว่างที่พระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย) ว่าราชการเมืองปัตตานีอยู่นั้น บ้านเมืองสงบเรียบร้อยเป็นปกติสุขตลอดมาครั้นต่อมาเมื่อพระยาปัตตานี  (ขวัญซ้าย) ถึงแก่กรรมลง โปรดเกล้าฯ ให้นายพ่าย    น้องชายของพระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย) ขึ้นว่าราชการเป็นพระยาปัตตานีและแต่งตั้งให้นายยิ้มซ้าย บุตร
พระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย)  เป็นหลวงสวัสดิภักดี ผู้ช่วยราชการเมืองปัตตานี และได้ย้ายที่ว่าการเมืองปัตตานีจากบ้านมะนา (อ่าวนาเกลือ) ไปตั้งที่บ้านยามู
             ในระหว่างนั้นพวกซาเห็ดรัตนาวงศ์ฯ และพวกโมเซฟได้เริ่มก่อกวนความสงบสุขของบ้านเมือง โดยคบคิดกันเข้าปล้นบ้านพระยาปัตตานี (พ่าย) และบ้านหลวงสวัสดิภักดี (ยิ้มซ้าย) ผู้ช่วยราชการเมืองปัตตานี แต่ก็ได้ถูกตีถอยหนีไปหลบซ่อนตัวอยู่ที่ตำบลบ้านกะลาพอ เขตเมืองสายบุรีนอกจากนั้นเมืองปัตตานีมีอาณาเขตกว้างขวาง      และมีโจรผู้ร้ายปล้นบ้านเรือนราษฎร









เรียงความเรื่อง หาดนราทัศน์

                                                    เรียงความเรื่อง  หาดนราทัศน์
                หาดนราทัศน์  เป็นหาดทรายขาวสะอาดยาวประมาณ  กิโลเมตร  ไปสิ้นสุดที่ปลายแหลมด้านปากแม่น้ำบางนรา  ซึ่งใช้เป็นสถานที่จัดการแข็งขันเรือกอและที่จัดขึ้นประจำปีด้วย แนวสนทำให้บรรยากาศริมทะเลรื่นมากขึ้น   ชาวบ้านนิยมมาพักผ่อนหย่อนใจกันที่นี่  ใกล้ๆ กันมีหมู่บ้านชาวประมงตั้งกระจัดกระจายตามริมแม่น้ำบางนรา  และบริเวณเวิ่งอ่าวมีเรือกอและของชาวประมงจอดอยู่มาอมาย  อยู่เลยจากตัวเมืองนราธิวาสไปตามถนนสายพิชิตบำรุงประมาณ  กิโลเมตร  นักท่องเที่ยวสามารถใช้บริการรถจักรยานยนต์  รถสามล้อถีบ หรือ รถสองแถวเล็ก  จากตัวเมืองนราธิวาสไปยังหาดนราทัศนได้สะดวก



                       
             
                   นอกจากนี่ยังมีร้านอาหารหลายร้านที่ตั้งอยู่  แต่ละร้านก็จะมีของเด็ดขายแต่ละร้าน  และยังมีร้านขายของต่างๆ  เช่น  ร้านขายเสื้อราคาถูก  และยังมีร้านขายของ  ขายรองเท้าราคาถูกอีกมากมาย  แลยังมีสนามเด็กเล่น  ก็จะมีเด็กๆมาเล่นเป็นอย่างมาก  และยังมีร้านขายของเล่นของเด็กๆอีกมากมาย  และในช่วงเทศการรายอทุกๆปี  หาดนราทัศน์ก็จะจัดงานเทศการวันรายอก็จะมีการปาโป่งและการละเล่นต่างๆ ที่สนุกสนาน  และมีผู้คนเป็นสวนมากไปที่หาดนราทัศน์  ไปเที่ยวไปเล่นน้ำ  และทุกคนก็พาผู้ปกครองหรือครอบครัวไป  เพราะที่นั้นก็มีน้ำใสสะอาดและมีของเล่ต่างๆ
                                
                                                                                             หาดนราทัศน์  เป็นชายหาดที่สวยที่สุดของจังหวัดนราธิวาส และเป็นจุดรวมของความงามที่ธรรมชาติสร้างสรรค์ขึ้น  ทั้งบนเกาะที่เต็มไปด้วยป่าที่อุดมสมบูรณ์  ในน้ำก็งดงามไปด้วยฝูงปลามากมายหลายชนิด และหาดนราทัศน์ยังสามารถเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจแกผู้ที่ต้องการพักอีกด้วย  และหาดจะมีทรายสีขาว และชายหาดก็จะมีความโค้ ยาวต่อเนื่องประมาณ 5 กิโลเมตร และยังมีเขื่อนกันคลื่นทีเป็นที่เด็นของที่นี่ และยังมีหมู่บ้านของชาประมง และทุกๆ ปีก็จะจัดงานเทศการวันรายอ และจะมีการเล่นกมส์ต่างๆ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าถึงความรัก และความสามัคคีของคนในจังหวัดนราธิวาส







วันเสาร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2557

เรียงความเรื่อง หาดนราทัศน์

                                     เรียงความเรื่อง   หาดนราทัศน

เรียงความเรื่อง กรีดยางอาชีพหลักของชาวใต้

                                        เรียงความเรื่อง  กรีดยางอาชีพหลักของชาวใต้( ครั้งที่2)

            กรีดยางเป็นอาชีพหนึ่งของใต้  เป็นอาชีพที่พ่อกับแม่รักที่สุด  พ่อแม่ทำงานอาชีพเลี้ยงหนูตั้งแต่เด็กจนถึงปัจจูบัน  สำหรับพ่อกับแม่ของหนูพวกเขาตื่นนอน ตั้งแต่ตี 4  เพื่อไปกรีดยางหาเงินให้หนู ได้มีการศึกษาที่ดี  กรีดยางเป็นอาชีพหลักของชาวใต้ ส่วนใหญ่ มักจะประกอบอาชีพกรีดยางเป็นหลัก ไม่ว่าจะไทยพุทธ หรือมุสลิม ในครอบครัวของหนู ไม่ดูถูกอาชีพกรีดยาง พวกหนูรักอาชีพนี้มาก
            กีรดยางเป็นอาชีพหลักของชาวใต้   ในแต่ละวัน  พอหนูตื่นนอน หนูก็จะไม่เห็นหน้าพ่อกับแม่ เพราะพวกเขาต้องตื่ีนนอนตั้งแต่ตี 4 เพื่อไปกรีดยาง แต่หนูก็ไม่เสียใจ หนูก็จะนั่งกล่าวขอให้น้ำยางไหลเยอะๆ  ในวันที่ฝนตกหนูดีใจมากที่ได้เห็นหน้าพ่อกับแม่ในวันหยุดพ่อกับแม่พาหนูไปที่สวนยาง  ไปปลูกต้นยาง ใส่ปุ๋ยที่ต้นยาง ที่สวนยางมีธารน้ำใสไหลผ่านมามีฝูงปลาเล็กๆ  พ่อของหนูกำลังใส่ปุ่ยที่ต้นยางส่วนแม่ของหนูกำลังปลูกต้นยาง พวกเขาดูแลเอาใจใส่ต้นยางเพื่อให้อยู่กับเรานานๆ ในฤดูที่มีลูกยางหนูจะชวนเพื่อนๆไปเก็บลูกยางที่สวนยาง เพื่อนของหนูเก็บลูกยางบางคนเอาไปขายส่วนบางก็ไปใช้ประโยชน์ไม่ว่าจะประดิษฐ์สิ่งของหรือของเล่นของใช้ต่างๆพอถึงขากลับหนูก็จะเก็บไม้ฟืนให้พ่อกับแม่เพื่อจะก่อกองไฟหุงข้าวทำกับข้าวต่างๆ   พอถึงฟดูหนาวหนูก็จะก่อกองไฟพวกเราไปนั่งที่รอบๆกองไฟเพื่อให้ร่างกายได้รับความอบอุ่น  อาชีพนี้ไม่ได้ยากอย่างที่เราคิด  เพียงแต่เราทำงานให้ดี ผลที่ออกมาก็จะดี
            หนูอยู่กับอาชีพกรีดยางตั้งแต่เด็ก  หนูจะพัฒนาต้นยางให้อยู่กับเราชาวใต้นานๆต้นยางมีประโยชน์กับเรามากๆ เป็นต้นยางที่พวกเราปลูกกันด้วยหัวใจ ต้นยางมีคุณค่ามากมายหลายอย่าง ถึงแม้บางครั้งมือพ่อกับมือแม่ของหนู  จะมีรอยบาดแผลที่โดนมีดกรีดยาง แต่พ่อกับแม่ก็ไม่ท้อที่จะทำงานต่อไป  ถึงแม้ว่าบางคนรังเกียจอาชีพนี้ แต่หนูไม่ดูถูกอาชีพนี้ เพราะพ่อกับแม่ เคยสอนหนูเสมอว่า พวกเขาทำงานอาชีพกรีดยางเพื่อหาเงินทุกบาททุกสตางค์  ให้หนูได้มีการศึกษาที่ดีถ้าหนูโตขึ้น หนูจะอนุรักษ์และดูแลต้นยางให้อยู่กับคนภาคใต้นานๆ เพื่อให้ลูกหลานของเราได้เรียนรู้ศึกษาต่อไปค่ะ


                              เรียงความเรื่อง   กรีดยางอาชีพหลักของชาวใต้ (ครั้งที่3)

            กรีดยางเป็นอีกอาชีพหนึ่งของคนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้  หนูจำความได้อาชีพนี้เป็นอาชีพที่พ่อกับแม่ทำตั้งแต่หนูยังเด็ก  หรืออาจจะก่อนหน้านั้น พ่อกับแม่ทั้งสองต้องตื่นนอนแต่เช้า  เพื่อไปกรีดยางหาเงินให้หนูได้เรียนหนังสือ  มีเสื้อผ้าใหม่ๆใส่ กรีดยางคืออาชีพหลักของคนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้  ไม่ว่าจะเป็นไทยพุทธหรือมุสลิม  ครอบครัวหนู ไม่เคยดูถูกอาชีพกรีดยางแต่พวกกลับรู้สึกว่าอาชีพให้ความสุขกับครอบครัวได้มาก
           กรีดยางเป็นอาชีพหนึ่งของคนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้  ในแต่ละวันคนในละแวกบ้านรวมไปถึงบ้าน  พอหนูตื่นนอน หนูก็จะไม่เห็นหน้าพ่อกับแม่เพราะพวกพวกเขาต้องตื่นนอนตั้งแต่เช้าเพื่อไปกรีดยาง หนูก็ไม่เสียใจ หนูก็จะนั่งกล่าวขอให้น้ำยางไหลมากๆในวันที่ฝนตก หนูดีใจมากที่เห็นหน้าพ่อกับแม่แต่อีกใจหนึ่งหนูก็เสียใจที่พ่อกับแม่ไม่มีรายได้เข้ามา  ในวันหยุดพ่อกับแม่พาหนูไปที่สวนยาง ไปใส่ปุ๋ย ในสวนยางมีธารน้ำใสไหลผ่านมีฝูงปลาเล็กๆ  ในสวนยางมีอากาศที่ดีมีลมพัดสบายๆพอถึงขากลับบ้านหนูก็จะช่วยพ่อกับแม่เก็บไม้ฟืนเพื่อไปก่อกองไฟทำกับข้าวและหุงข้าวตอนเช้าๆแม่ก็จะก่อกองไฟหนูก็จะไปนั่งที่รอบกองไฟ เพื่อทำให้ร่างกายอบอุ่น  รวมไปถึงเพื่อนบ้านด้วย  ในฤดูที่มีลูกยางหนูชวนเพื่อนๆ ไปเก็บลูกยาง บางคนเอาไปขายบางใช้เป็นประโยชน์ด้วยคะ่
          หนูอยู่กับอาชีพนี้ตั้งแต่เด็ก  หนูรู้จักต้นยางตั้งแต่หนูจำความได้  หนูจะพัฒนาอาชีพนี้ให้อยู่กับเรานานๆ  ต้นยางมีคุณค่ามากๆ  เป็นต้นยางที่พวกเราปลูกด้วยหัวใจ  ถึงแม้บางครั้งมือพ่อกับมือแม่ของหนู จะมีรอยบาดแผลที่โดนมีดกรีดยางบาดสุดท้ายนี้หนูก็จะขอให้ทุกคนช่วยอนุรักษ์ต้นยางที่เป็นอาชีพที่คุณปู่ย่าตายายทำงานตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจูบัน  หนูจะดูแลต้นยางและอนุรักษ์  ให้อยู่กับเราคนใต้และให้ลูกหลานได้ศึกษาต่อค่ะ

เรียงความเรื่อง นําตกกฉัตรวารินเเสนสวยคู่เคียงธรรมชาติชายเเดนใต้



วันจันทร์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2557

                               วิถีชีวิตสามจังหวัดชายเเดนใต้

                 วิถีชีวิตสามจังหวัดชายเเดนใต้  มีการดำรงชีวิตเเบบเรียบง่ายไม่หรุหราเเละปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงเเละสามจังหวัดของเราเป็นจังหวัดต้นเเบบเพราะปฏัติบัตามหลักการของภาคใต้มาก มากเพราะมีเหตุการณ์ที่ไม่สงบเเละเหตุการที่เลวร้ายเกิดขึ้นมามากมายที่เราไม่ครวคิดว่าจะเิกดขึ้นเเต่เราก็ยอมรับกับสิ่งที่เกิดขึ้นให้ได้เเต่สามจังหวัดชายเเดนใต้มีดีที่ว่าเลี้ยงชีวิตเเบบพอเพียงเเละทำของขายเเต่เราจะาสู้เพื่ออนาคลของคนรุ้นหลังที่จะเจริญเติบโตในภายภาคหน้า
                   สามจังหวัดชายเเดนใต้เป็นส่วนหยึ่งของประเทศไทยที่อยู่สุดปรายด้ามขวานเเละเป็นจังหวัดที่อยู่ติดกับชายเเดนมาเลเชียวึ้งเป้นทางผ่านของสินค้าต่างๆ ที่จะนำเข้ามาภายในปรระเทศเช่นรถจักรยานยนต์ผลไม้ กระป๋อง เเละสินค้าต่างๆอีกมากมายเเละจังหวัดชายเเดนใต้ยังมีสถานที่ท่องเที่ยวมากมายเช่นน้ำตกซีโป น้ตกชักวาริน สวนพิกทอง อ่าวมะนาว หาดนราทัศนืเเละมีมสิด300ปี เป้นต้น เเละการดำรงชีวิตของต้นในสามจังหวัดชายเเดนใต้นี้ีการดำรงชีวิตเเบบเรียบง่ายเพราะปกัติตามหลักเศราฐกิจพอเพียงอาทิเช่นปลุกพืชผักสวนครัวได้รับประทานเองเเละถ้าทานไม่หมดก็สามารถนำไปขายได้หรือนำไปเเบ่งปันให้เพื่อนบ้าน ของใช่มีเครื่องสาน เเละที่นั้งไ ม่ไผ่เป็นต้นอีกสวนหนึ่งในเเต่ละวันมีเหตุการณ์ไม่สงบเกิดขึ้นมากมายเช่นยิงครู ยิงทหารเเละพวกเราครวรักษาสามจังหวัดชายเเดนใต้ไว้ให้อยู่นานเเต่ก็มีระเบิดเกิดขึ้นเพราะเราทุกคนไม่มามัคคีเเเละพวกเราจงบรักษาสามจังหวัดภาคใต้ไว้ให้ลูกหลานของพวกเรามายังอยู่บนพื้นดินใต้ได้

                  วิถีของคนในสามจังหวัดชายเเดนใต้ก็ตามที่ได้อะิบายไปตามเนื้อหาต่างๆ ดังนั้นคนไทยเราจงมีความสามัคคีเเละมีความรู้เเพ้รู้ชนะจึงจะได้ไม่เกิดเหตุการรืที่ไม่สงบเเละถ้าเราคนไทยทุกคนปฏบัติตามหลักของพระบาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็จะไม่เกิดเหตุการณืทุกๆ อย่าก็จะสงบเเละถ้าไม่เกิดขึ้นเเละถ้าเราใช่หลักเศษฐกิจพอเพียงปลูกผักเลี้ยงสัตว์เเละทำของใช่หรือสบู่ของใช่นั้นเราสามารถนำมาขายได้เเละนำทาใช่เองของที่จะนำมาขายก็เช่นเตียงหวายพัดไม้ไผ่เเบบสารกระเช้าผลไม้เป็นต้นเเละถ้าคนไทยเรายดหลักพ่อหลวงหรือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็จะไม่มีเหตุการร์ที่ไม่สงบเกิดขึ้นอีกถ้าคนไทยเราหันมาจับมือปรองครองกับสามจังหวัดชายเเดนใต้ก็จะอยู่มายืนอยูบนพื้นได้