วันอาทิตย์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2557

เรียงความเรื่อง หาดนราทัศน์

                                              เรียงความเรื่อง หาดนราทัศน์ (ครั้งที่ 3)

                                 

                   หาดนราทัศน์ เป็นหาดทรายขาวสะอาดยาวประมาณ 5 กิโลเมตร ไปสิ้นสุดที่ปลายแหลมด้านปากแม่น้ำบางนรา ซึ่งใช้เป็นสถานที่จัดการแข็งขันเรือกอและที่จัดขึ้นประจำปีด้วย แนวสนทำให้บรรยากาศริมทะเลรื่นมากขึ้น ชาวบ้านนิยมมาพักผ่อนหย่อนใจกันที่นี่ ใกล้ๆ กันมีหมู่บ้านชาวประมงตั้งกระจัดกระจายตามริมแม่น้ำบางนรา และบริเวณเวิ่งอ่าวมีเรือกอและของชาวประมงจอดอยู่มาอมาย อยู่เลยจากตัวเมืองนราธิวาสไปตามถนนสายพิชิตบำรุงประมาณ 1 กิโลเมตร นักท่องเที่ยวสามารถใช้บริการรถจักรยานยนต์ รถสามล้อถีบ หรือ รถสองแถวเล็ก จากตัวเมืองนราธิวาสไปยังหาดนราทัศนได้สะดวก และมีฝุงปลามากมาย และทะเลใสโดยนักท่องเที่ยวมาเล่นอย่างสนุกสนาน
                  นอกจากนี่ยังมีร้านอาหารหลายร้านที่ตั้งอยู่ แต่ละร้านก็จะมีของเด็ดขายแต่ละร้าน และยังมีร้านขายของต่างๆ เช่น ร้านขายเสื้อราคาถูก และยังมีร้านขายของ ขายรองเท้าราคาถูกอีกมากมาย แลยังมีสนามเด็กเล่น ก็จะมีเด็กๆมาเล่นเป็นอย่างมาก และยังมีร้านขายของเล่นของเด็กๆอีกมากมาย และในช่วงเทศการรายอทุกๆปี หาดนราทัศน์ก็จะจัดงานเทศการวันรายอก็จะมีการปาโป่งและการละเล่นต่างๆ ที่สนุกสนาน และมีผู้คนเป็นสวนมากไปที่หาดนราทัศน์ ไปเที่ยวไปเล่นน้ำ และทุกคนก็พาผู้ปกครองหรือครอบครัวไป เพราะที่นั้นก็มีน้ำใสสะอาดและมีของเล่นมากมายและมีร้านอาหารที่อร่อยๆ บางร้าน แต่บางร้านก็จะมีรสเด็ดและอร่อยน่ากินมากๆ


            หาดนราทัศน์ เป็นชายหาดที่สวยที่สุดของจังหวัดนราธิวาส และเป็นจุดรวมของความงามที่ธรรมชาติสร้างสรรค์ขึ้น ทั้งบนเกาะที่เต็มไปด้วยป่าที่อุดมสมบูรณ์ ในน้ำก็งดงามไปด้วยฝูงปลามากมายหลายชนิด และหาดนราทัศน์ยังสามารถเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจแกผู้ที่ต้องการพักอีกด้วย และหาดจะมีทรายสีขาว และชายหาดก็จะมีความโค้ ยาวต่อเนื่องประมาณ 5 กิโลเมตร และยังมีเขื่อนกันคลื่นทีเป็นที่เด็นของที่นี่ และยังมีหมู่บ้านของชาประมง และทุกๆ ปีก็จะจัดงานเทศการวันรายอ และจะมีการเล่นกมส์ต่างๆ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าถึงความรัก และความสามัคคีของคนในจังหวัดนราธิวาส และชาวบ้านก็จะออกมาขาย อาหารทะเลซึ่งราคาย่อมเยาว์





เรียงความเรื่อง จังหวัดนราธิวาส

                                                                                                                             เรียงความเรื่อง  จังหวัดนราธิวาส(ครั้งที่๑)





             ประวัติเมืองนราธิวาส เดิมมีฐานะเป็นเพียงอำเภอหนึ่ง เรียกว่า อำเภอบางนรา ขึ้นอยู่กับเมืองสายบุรี ต่อมาได้โอนไปขึ้นกับเมืองระแงะ ดังนั้นการที่จะทราบถึงประวัติความเป็นมาของเมือง
นราธิวาส จะต้องกล่าวถึงเรื่องราวของเมืองปัตตานี เมืองสายบุรีและเมืองระแงะ ซึ่งเป็นบริเวณหัวเมือง เป็นลำดับติดต่อกันไปในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้มีรับสั่งให้กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ยกกองทัพหลวงลงมาปักษ์ใต้ เพื่อปราบปรามข้าศึกที่ยกเข้ามารุกรานพระราชอาณาเขตทางใต้ เมื่อข้าศึกแตกพ่ายหนีไปหมดแล้วจึงได้เสด็จไปประทับ ณ เมืองสงขลา แล้วได้มีรับสั่งออกไปถึงหัวเมืองมลายูทั้งหลาย ซึ่งเคยเป็นเมืองขึ้นกับกรุงศรีอยุธยามาแต่ก่อนให้มาอ่อนน้อมเห
             พระยาไทรบุรี พระยาตรังกานู ยอมอ่อนน้อมโดยดี แต่พระยาปัตตานีตั้งแข็งเมืองไม่ยอมอ่อนน้อม จึงได้รับสั่งให้ยกกองทัพลงไปตีเมืองปัตตานี เมื่อได้เมืองปัตตานีแล้ว ก็โปรดเกล้าพระราชทานตราตั้งให้พระยาสงขลา (บุญฮุย) เป็นพระยาปัตตานี และให้อยู่ในความกำกับดูแลของเมืองสงขลาต่อไป และตั้งให้เป็นเมืองตรี ขึ้นอยู่กับกรุงรัตนโกสินทร์โดยตรง ในระหว่างที่พระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย) ว่าราชการเมืองปัตตานีอยู่นั้น บ้านเมืองสงบเรียบร้อยเป็นปกติสุขตลอดมาครั้นต่อมาเมื่อพระยาปัตตานี  (ขวัญซ้าย) ถึงแก่กรรมลง โปรดเกล้าฯ ให้นายพ่าย    น้องชายของพระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย) ขึ้นว่าราชการเป็นพระยาปัตตานีและแต่งตั้งให้นายยิ้มซ้าย บุตร
พระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย)  เป็นหลวงสวัสดิภักดี ผู้ช่วยราชการเมืองปัตตานี และได้ย้ายที่ว่าการเมืองปัตตานีจากบ้านมะนา (อ่าวนาเกลือ) ไปตั้งที่บ้านยามู
             ในระหว่างนั้นพวกซาเห็ดรัตนาวงศ์ฯ และพวกโมเซฟได้เริ่มก่อกวนความสงบสุขของบ้านเมือง โดยคบคิดกันเข้าปล้นบ้านพระยาปัตตานี (พ่าย) และบ้านหลวงสวัสดิภักดี (ยิ้มซ้าย) ผู้ช่วยราชการเมืองปัตตานี แต่ก็ได้ถูกตีถอยหนีไปหลบซ่อนตัวอยู่ที่ตำบลบ้านกะลาพอ เขตเมืองสายบุรีนอกจากนั้นเมืองปัตตานีมีอาณาเขตกว้างขวาง      และมีโจรผู้ร้ายปล้นบ้านเรือนราษฎร

                                               เรียงความเรื่ิอง  จังหวัดนราธิวาส(ครั้งที่๒)







ประวัติเมืองนราธิวาส เดิมมีฐานะเป็นเพียงอำเภอหนึ่ง เรียกว่า อำเภอบางนรา ขึ้นอยู่กับเมืองสายบุรี ต่อมาได้โอนไปขึ้นกับเมืองระแงะ ดังนั้นการที่จะทราบถึงประวัติความเป็นมาของเมือง
นราธิวาส จะต้องกล่าวถึงเรื่องราวของเมืองปัตตานี เมืองสายบุรีและเมืองระแงะ ซึ่งเป็นบริเวณหัวเมือง เป็นลำดับติดต่อกันไปในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้มีรับสั่งให้กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ยกกองทัพหลวงลงมาปักษ์ใต้ เพื่อปราบปรามข้าศึกที่ยกเข้ามารุกรานพระราชอาณาเขตทางใต้ เมื่อข้าศึกแตกพ่ายหนีไปหมดแล้วจึงได้เสด็จไปประทับ ณ เมืองสงขลา แล้วได้มีรับสั่งออกไปถึงหัวเมืองมลายูทั้งหลาย ซึ่งเคยเป็นเมืองขึ้นกับกรุงศรีอยุธยามาแต่ก่อนให้มาอ่อนน้อมเห
             พระยาไทรบุรี พระยาตรังกานู ยอมอ่อนน้อมโดยดี แต่พระยาปัตตานีตั้งแข็งเมืองไม่ยอมอ่อนน้อม จึงได้รับสั่งให้ยกกองทัพลงไปตีเมืองปัตตานี เมื่อได้เมืองปัตตานีแล้ว ก็โปรดเกล้าพระราชทานตราตั้งให้พระยาสงขลา (บุญฮุย) เป็นพระยาปัตตานี และให้อยู่ในความกำกับดูแลของเมืองสงขลาต่อไป และตั้งให้เป็นเมืองตรี ขึ้นอยู่กับกรุงรัตนโกสินทร์โดยตรง ในระหว่างที่พระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย) ว่าราชการเมืองปัตตานีอยู่นั้น บ้านเมืองสงบเรียบร้อยเป็นปกติสุขตลอดมาครั้นต่อมาเมื่อพระยาปัตตานี  (ขวัญซ้าย) ถึงแก่กรรมลง โปรดเกล้าฯ ให้นายพ่าย    น้องชายของพระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย) ขึ้นว่าราชการเป็นพระยาปัตตานีและแต่งตั้งให้นายยิ้มซ้าย บุตร
พระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย)  เป็นหลวงสวัสดิภักดี ผู้ช่วยราชการเมืองปัตตานี และได้ย้ายที่ว่าการเมืองปัตตานีจากบ้านมะนา (อ่าวนาเกลือ) ไปตั้งที่บ้านยามู
             ในระหว่างนั้นพวกซาเห็ดรัตนาวงศ์ฯ และพวกโมเซฟได้เริ่มก่อกวนความสงบสุขของบ้านเมือง โดยคบคิดกันเข้าปล้นบ้านพระยาปัตตานี (พ่าย) และบ้านหลวงสวัสดิภักดี (ยิ้มซ้าย) ผู้ช่วยราชการเมืองปัตตานี แต่ก็ได้ถูกตีถอยหนีไปหลบซ่อนตัวอยู่ที่ตำบลบ้านกะลาพอ เขตเมืองสายบุรีนอกจากนั้นเมืองปัตตานีมีอาณาเขตกว้างขวาง      และมีโจรผู้ร้ายปล้นบ้านเรือนราษฎร



เรียงความเรื่อง  จังหวัดนราธิวาส(ครั้งที่๓)




ประวัติเมืองนราธิวาส เดิมมีฐานะเป็นเพียงอำเภอหนึ่ง เรียกว่า อำเภอบางนรา ขึ้นอยู่กับเมืองสายบุรี ต่อมาได้โอนไปขึ้นกับเมืองระแงะ ดังนั้นการที่จะทราบถึงประวัติความเป็นมาของเมือง
นราธิวาส จะต้องกล่าวถึงเรื่องราวของเมืองปัตตานี เมืองสายบุรีและเมืองระแงะ ซึ่งเป็นบริเวณหัวเมือง เป็นลำดับติดต่อกันไปในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้มีรับสั่งให้กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ยกกองทัพหลวงลงมาปักษ์ใต้ เพื่อปราบปรามข้าศึกที่ยกเข้ามารุกรานพระราชอาณาเขตทางใต้ เมื่อข้าศึกแตกพ่ายหนีไปหมดแล้วจึงได้เสด็จไปประทับ ณ เมืองสงขลา แล้วได้มีรับสั่งออกไปถึงหัวเมืองมลายูทั้งหลาย ซึ่งเคยเป็นเมืองขึ้นกับกรุงศรีอยุธยามาแต่ก่อนให้มาอ่อนน้อมเห
             พระยาไทรบุรี พระยาตรังกานู ยอมอ่อนน้อมโดยดี แต่พระยาปัตตานีตั้งแข็งเมืองไม่ยอมอ่อนน้อม จึงได้รับสั่งให้ยกกองทัพลงไปตีเมืองปัตตานี เมื่อได้เมืองปัตตานีแล้ว ก็โปรดเกล้าพระราชทานตราตั้งให้พระยาสงขลา (บุญฮุย) เป็นพระยาปัตตานี และให้อยู่ในความกำกับดูแลของเมืองสงขลาต่อไป และตั้งให้เป็นเมืองตรี ขึ้นอยู่กับกรุงรัตนโกสินทร์โดยตรง ในระหว่างที่พระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย) ว่าราชการเมืองปัตตานีอยู่นั้น บ้านเมืองสงบเรียบร้อยเป็นปกติสุขตลอดมาครั้นต่อมาเมื่อพระยาปัตตานี  (ขวัญซ้าย) ถึงแก่กรรมลง โปรดเกล้าฯ ให้นายพ่าย    น้องชายของพระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย) ขึ้นว่าราชการเป็นพระยาปัตตานีและแต่งตั้งให้นายยิ้มซ้าย บุตร
พระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย)  เป็นหลวงสวัสดิภักดี ผู้ช่วยราชการเมืองปัตตานี และได้ย้ายที่ว่าการเมืองปัตตานีจากบ้านมะนา (อ่าวนาเกลือ) ไปตั้งที่บ้านยามู
             ในระหว่างนั้นพวกซาเห็ดรัตนาวงศ์ฯ และพวกโมเซฟได้เริ่มก่อกวนความสงบสุขของบ้านเมือง โดยคบคิดกันเข้าปล้นบ้านพระยาปัตตานี (พ่าย) และบ้านหลวงสวัสดิภักดี (ยิ้มซ้าย) ผู้ช่วยราชการเมืองปัตตานี แต่ก็ได้ถูกตีถอยหนีไปหลบซ่อนตัวอยู่ที่ตำบลบ้านกะลาพอ เขตเมืองสายบุรีนอกจากนั้นเมืองปัตตานีมีอาณาเขตกว้างขวาง      และมีโจรผู้ร้ายปล้นบ้านเรือนราษฎร
ประวัติเมืองนราธิวาส เดิมมีฐานะเป็นเพียงอำเภอหนึ่ง เรียกว่า อำเภอบางนรา ขึ้นอยู่กับเมืองสายบุรี ต่อมาได้โอนไปขึ้นกับเมืองระแงะ ดังนั้นการที่จะทราบถึงประวัติความเป็นมาของเมือง
นราธิวาส จะต้องกล่าวถึงเรื่องราวของเมืองปัตตานี เมืองสายบุรีและเมืองระแงะ ซึ่งเป็นบริเวณหัวเมือง เป็นลำดับติดต่อกันไปในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ได้มีรับสั่งให้กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ยกกองทัพหลวงลงมาปักษ์ใต้ เพื่อปราบปรามข้าศึกที่ยกเข้ามารุกรานพระราชอาณาเขตทางใต้ เมื่อข้าศึกแตกพ่ายหนีไปหมดแล้วจึงได้เสด็จไปประทับ ณ เมืองสงขลา แล้วได้มีรับสั่งออกไปถึงหัวเมืองมลายูทั้งหลาย ซึ่งเคยเป็นเมืองขึ้นกับกรุงศรีอยุธยามาแต่ก่อนให้มาอ่อนน้อมเห
             พระยาไทรบุรี พระยาตรังกานู ยอมอ่อนน้อมโดยดี แต่พระยาปัตตานีตั้งแข็งเมืองไม่ยอมอ่อนน้อม จึงได้รับสั่งให้ยกกองทัพลงไปตีเมืองปัตตานี เมื่อได้เมืองปัตตานีแล้ว ก็โปรดเกล้าพระราชทานตราตั้งให้พระยาสงขลา (บุญฮุย) เป็นพระยาปัตตานี และให้อยู่ในความกำกับดูแลของเมืองสงขลาต่อไป และตั้งให้เป็นเมืองตรี ขึ้นอยู่กับกรุงรัตนโกสินทร์โดยตรง ในระหว่างที่พระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย) ว่าราชการเมืองปัตตานีอยู่นั้น บ้านเมืองสงบเรียบร้อยเป็นปกติสุขตลอดมาครั้นต่อมาเมื่อพระยาปัตตานี  (ขวัญซ้าย) ถึงแก่กรรมลง โปรดเกล้าฯ ให้นายพ่าย    น้องชายของพระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย) ขึ้นว่าราชการเป็นพระยาปัตตานีและแต่งตั้งให้นายยิ้มซ้าย บุตร
พระยาปัตตานี (ขวัญซ้าย)  เป็นหลวงสวัสดิภักดี ผู้ช่วยราชการเมืองปัตตานี และได้ย้ายที่ว่าการเมืองปัตตานีจากบ้านมะนา (อ่าวนาเกลือ) ไปตั้งที่บ้านยามู
             ในระหว่างนั้นพวกซาเห็ดรัตนาวงศ์ฯ และพวกโมเซฟได้เริ่มก่อกวนความสงบสุขของบ้านเมือง โดยคบคิดกันเข้าปล้นบ้านพระยาปัตตานี (พ่าย) และบ้านหลวงสวัสดิภักดี (ยิ้มซ้าย) ผู้ช่วยราชการเมืองปัตตานี แต่ก็ได้ถูกตีถอยหนีไปหลบซ่อนตัวอยู่ที่ตำบลบ้านกะลาพอ เขตเมืองสายบุรีนอกจากนั้นเมืองปัตตานีมีอาณาเขตกว้างขวาง      และมีโจรผู้ร้ายปล้นบ้านเรือนราษฎร









เรียงความเรื่อง หาดนราทัศน์

                                                    เรียงความเรื่อง  หาดนราทัศน์
                หาดนราทัศน์  เป็นหาดทรายขาวสะอาดยาวประมาณ  กิโลเมตร  ไปสิ้นสุดที่ปลายแหลมด้านปากแม่น้ำบางนรา  ซึ่งใช้เป็นสถานที่จัดการแข็งขันเรือกอและที่จัดขึ้นประจำปีด้วย แนวสนทำให้บรรยากาศริมทะเลรื่นมากขึ้น   ชาวบ้านนิยมมาพักผ่อนหย่อนใจกันที่นี่  ใกล้ๆ กันมีหมู่บ้านชาวประมงตั้งกระจัดกระจายตามริมแม่น้ำบางนรา  และบริเวณเวิ่งอ่าวมีเรือกอและของชาวประมงจอดอยู่มาอมาย  อยู่เลยจากตัวเมืองนราธิวาสไปตามถนนสายพิชิตบำรุงประมาณ  กิโลเมตร  นักท่องเที่ยวสามารถใช้บริการรถจักรยานยนต์  รถสามล้อถีบ หรือ รถสองแถวเล็ก  จากตัวเมืองนราธิวาสไปยังหาดนราทัศนได้สะดวก



                       
             
                   นอกจากนี่ยังมีร้านอาหารหลายร้านที่ตั้งอยู่  แต่ละร้านก็จะมีของเด็ดขายแต่ละร้าน  และยังมีร้านขายของต่างๆ  เช่น  ร้านขายเสื้อราคาถูก  และยังมีร้านขายของ  ขายรองเท้าราคาถูกอีกมากมาย  แลยังมีสนามเด็กเล่น  ก็จะมีเด็กๆมาเล่นเป็นอย่างมาก  และยังมีร้านขายของเล่นของเด็กๆอีกมากมาย  และในช่วงเทศการรายอทุกๆปี  หาดนราทัศน์ก็จะจัดงานเทศการวันรายอก็จะมีการปาโป่งและการละเล่นต่างๆ ที่สนุกสนาน  และมีผู้คนเป็นสวนมากไปที่หาดนราทัศน์  ไปเที่ยวไปเล่นน้ำ  และทุกคนก็พาผู้ปกครองหรือครอบครัวไป  เพราะที่นั้นก็มีน้ำใสสะอาดและมีของเล่ต่างๆ
                                
                                                                                             หาดนราทัศน์  เป็นชายหาดที่สวยที่สุดของจังหวัดนราธิวาส และเป็นจุดรวมของความงามที่ธรรมชาติสร้างสรรค์ขึ้น  ทั้งบนเกาะที่เต็มไปด้วยป่าที่อุดมสมบูรณ์  ในน้ำก็งดงามไปด้วยฝูงปลามากมายหลายชนิด และหาดนราทัศน์ยังสามารถเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจแกผู้ที่ต้องการพักอีกด้วย  และหาดจะมีทรายสีขาว และชายหาดก็จะมีความโค้ ยาวต่อเนื่องประมาณ 5 กิโลเมตร และยังมีเขื่อนกันคลื่นทีเป็นที่เด็นของที่นี่ และยังมีหมู่บ้านของชาประมง และทุกๆ ปีก็จะจัดงานเทศการวันรายอ และจะมีการเล่นกมส์ต่างๆ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าถึงความรัก และความสามัคคีของคนในจังหวัดนราธิวาส







วันเสาร์ที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2557

เรียงความเรื่อง หาดนราทัศน์

                                     เรียงความเรื่อง   หาดนราทัศน

เรียงความเรื่อง กรีดยางอาชีพหลักของชาวใต้

                                        เรียงความเรื่อง  กรีดยางอาชีพหลักของชาวใต้( ครั้งที่2)

            กรีดยางเป็นอาชีพหนึ่งของใต้  เป็นอาชีพที่พ่อกับแม่รักที่สุด  พ่อแม่ทำงานอาชีพเลี้ยงหนูตั้งแต่เด็กจนถึงปัจจูบัน  สำหรับพ่อกับแม่ของหนูพวกเขาตื่นนอน ตั้งแต่ตี 4  เพื่อไปกรีดยางหาเงินให้หนู ได้มีการศึกษาที่ดี  กรีดยางเป็นอาชีพหลักของชาวใต้ ส่วนใหญ่ มักจะประกอบอาชีพกรีดยางเป็นหลัก ไม่ว่าจะไทยพุทธ หรือมุสลิม ในครอบครัวของหนู ไม่ดูถูกอาชีพกรีดยาง พวกหนูรักอาชีพนี้มาก
            กีรดยางเป็นอาชีพหลักของชาวใต้   ในแต่ละวัน  พอหนูตื่นนอน หนูก็จะไม่เห็นหน้าพ่อกับแม่ เพราะพวกเขาต้องตื่ีนนอนตั้งแต่ตี 4 เพื่อไปกรีดยาง แต่หนูก็ไม่เสียใจ หนูก็จะนั่งกล่าวขอให้น้ำยางไหลเยอะๆ  ในวันที่ฝนตกหนูดีใจมากที่ได้เห็นหน้าพ่อกับแม่ในวันหยุดพ่อกับแม่พาหนูไปที่สวนยาง  ไปปลูกต้นยาง ใส่ปุ๋ยที่ต้นยาง ที่สวนยางมีธารน้ำใสไหลผ่านมามีฝูงปลาเล็กๆ  พ่อของหนูกำลังใส่ปุ่ยที่ต้นยางส่วนแม่ของหนูกำลังปลูกต้นยาง พวกเขาดูแลเอาใจใส่ต้นยางเพื่อให้อยู่กับเรานานๆ ในฤดูที่มีลูกยางหนูจะชวนเพื่อนๆไปเก็บลูกยางที่สวนยาง เพื่อนของหนูเก็บลูกยางบางคนเอาไปขายส่วนบางก็ไปใช้ประโยชน์ไม่ว่าจะประดิษฐ์สิ่งของหรือของเล่นของใช้ต่างๆพอถึงขากลับหนูก็จะเก็บไม้ฟืนให้พ่อกับแม่เพื่อจะก่อกองไฟหุงข้าวทำกับข้าวต่างๆ   พอถึงฟดูหนาวหนูก็จะก่อกองไฟพวกเราไปนั่งที่รอบๆกองไฟเพื่อให้ร่างกายได้รับความอบอุ่น  อาชีพนี้ไม่ได้ยากอย่างที่เราคิด  เพียงแต่เราทำงานให้ดี ผลที่ออกมาก็จะดี
            หนูอยู่กับอาชีพกรีดยางตั้งแต่เด็ก  หนูจะพัฒนาต้นยางให้อยู่กับเราชาวใต้นานๆต้นยางมีประโยชน์กับเรามากๆ เป็นต้นยางที่พวกเราปลูกกันด้วยหัวใจ ต้นยางมีคุณค่ามากมายหลายอย่าง ถึงแม้บางครั้งมือพ่อกับมือแม่ของหนู  จะมีรอยบาดแผลที่โดนมีดกรีดยาง แต่พ่อกับแม่ก็ไม่ท้อที่จะทำงานต่อไป  ถึงแม้ว่าบางคนรังเกียจอาชีพนี้ แต่หนูไม่ดูถูกอาชีพนี้ เพราะพ่อกับแม่ เคยสอนหนูเสมอว่า พวกเขาทำงานอาชีพกรีดยางเพื่อหาเงินทุกบาททุกสตางค์  ให้หนูได้มีการศึกษาที่ดีถ้าหนูโตขึ้น หนูจะอนุรักษ์และดูแลต้นยางให้อยู่กับคนภาคใต้นานๆ เพื่อให้ลูกหลานของเราได้เรียนรู้ศึกษาต่อไปค่ะ


                              เรียงความเรื่อง   กรีดยางอาชีพหลักของชาวใต้ (ครั้งที่3)

            กรีดยางเป็นอีกอาชีพหนึ่งของคนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้  หนูจำความได้อาชีพนี้เป็นอาชีพที่พ่อกับแม่ทำตั้งแต่หนูยังเด็ก  หรืออาจจะก่อนหน้านั้น พ่อกับแม่ทั้งสองต้องตื่นนอนแต่เช้า  เพื่อไปกรีดยางหาเงินให้หนูได้เรียนหนังสือ  มีเสื้อผ้าใหม่ๆใส่ กรีดยางคืออาชีพหลักของคนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้  ไม่ว่าจะเป็นไทยพุทธหรือมุสลิม  ครอบครัวหนู ไม่เคยดูถูกอาชีพกรีดยางแต่พวกกลับรู้สึกว่าอาชีพให้ความสุขกับครอบครัวได้มาก
           กรีดยางเป็นอาชีพหนึ่งของคนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้  ในแต่ละวันคนในละแวกบ้านรวมไปถึงบ้าน  พอหนูตื่นนอน หนูก็จะไม่เห็นหน้าพ่อกับแม่เพราะพวกพวกเขาต้องตื่นนอนตั้งแต่เช้าเพื่อไปกรีดยาง หนูก็ไม่เสียใจ หนูก็จะนั่งกล่าวขอให้น้ำยางไหลมากๆในวันที่ฝนตก หนูดีใจมากที่เห็นหน้าพ่อกับแม่แต่อีกใจหนึ่งหนูก็เสียใจที่พ่อกับแม่ไม่มีรายได้เข้ามา  ในวันหยุดพ่อกับแม่พาหนูไปที่สวนยาง ไปใส่ปุ๋ย ในสวนยางมีธารน้ำใสไหลผ่านมีฝูงปลาเล็กๆ  ในสวนยางมีอากาศที่ดีมีลมพัดสบายๆพอถึงขากลับบ้านหนูก็จะช่วยพ่อกับแม่เก็บไม้ฟืนเพื่อไปก่อกองไฟทำกับข้าวและหุงข้าวตอนเช้าๆแม่ก็จะก่อกองไฟหนูก็จะไปนั่งที่รอบกองไฟ เพื่อทำให้ร่างกายอบอุ่น  รวมไปถึงเพื่อนบ้านด้วย  ในฤดูที่มีลูกยางหนูชวนเพื่อนๆ ไปเก็บลูกยาง บางคนเอาไปขายบางใช้เป็นประโยชน์ด้วยคะ่
          หนูอยู่กับอาชีพนี้ตั้งแต่เด็ก  หนูรู้จักต้นยางตั้งแต่หนูจำความได้  หนูจะพัฒนาอาชีพนี้ให้อยู่กับเรานานๆ  ต้นยางมีคุณค่ามากๆ  เป็นต้นยางที่พวกเราปลูกด้วยหัวใจ  ถึงแม้บางครั้งมือพ่อกับมือแม่ของหนู จะมีรอยบาดแผลที่โดนมีดกรีดยางบาดสุดท้ายนี้หนูก็จะขอให้ทุกคนช่วยอนุรักษ์ต้นยางที่เป็นอาชีพที่คุณปู่ย่าตายายทำงานตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจูบัน  หนูจะดูแลต้นยางและอนุรักษ์  ให้อยู่กับเราคนใต้และให้ลูกหลานได้ศึกษาต่อค่ะ

เรียงความเรื่อง นําตกกฉัตรวารินเเสนสวยคู่เคียงธรรมชาติชายเเดนใต้



วันจันทร์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2557

                               วิถีชีวิตสามจังหวัดชายเเดนใต้

                 วิถีชีวิตสามจังหวัดชายเเดนใต้  มีการดำรงชีวิตเเบบเรียบง่ายไม่หรุหราเเละปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงเเละสามจังหวัดของเราเป็นจังหวัดต้นเเบบเพราะปฏัติบัตามหลักการของภาคใต้มาก มากเพราะมีเหตุการณ์ที่ไม่สงบเเละเหตุการที่เลวร้ายเกิดขึ้นมามากมายที่เราไม่ครวคิดว่าจะเิกดขึ้นเเต่เราก็ยอมรับกับสิ่งที่เกิดขึ้นให้ได้เเต่สามจังหวัดชายเเดนใต้มีดีที่ว่าเลี้ยงชีวิตเเบบพอเพียงเเละทำของขายเเต่เราจะาสู้เพื่ออนาคลของคนรุ้นหลังที่จะเจริญเติบโตในภายภาคหน้า
                   สามจังหวัดชายเเดนใต้เป็นส่วนหยึ่งของประเทศไทยที่อยู่สุดปรายด้ามขวานเเละเป็นจังหวัดที่อยู่ติดกับชายเเดนมาเลเชียวึ้งเป้นทางผ่านของสินค้าต่างๆ ที่จะนำเข้ามาภายในปรระเทศเช่นรถจักรยานยนต์ผลไม้ กระป๋อง เเละสินค้าต่างๆอีกมากมายเเละจังหวัดชายเเดนใต้ยังมีสถานที่ท่องเที่ยวมากมายเช่นน้ำตกซีโป น้ตกชักวาริน สวนพิกทอง อ่าวมะนาว หาดนราทัศนืเเละมีมสิด300ปี เป้นต้น เเละการดำรงชีวิตของต้นในสามจังหวัดชายเเดนใต้นี้ีการดำรงชีวิตเเบบเรียบง่ายเพราะปกัติตามหลักเศราฐกิจพอเพียงอาทิเช่นปลุกพืชผักสวนครัวได้รับประทานเองเเละถ้าทานไม่หมดก็สามารถนำไปขายได้หรือนำไปเเบ่งปันให้เพื่อนบ้าน ของใช่มีเครื่องสาน เเละที่นั้งไ ม่ไผ่เป็นต้นอีกสวนหนึ่งในเเต่ละวันมีเหตุการณ์ไม่สงบเกิดขึ้นมากมายเช่นยิงครู ยิงทหารเเละพวกเราครวรักษาสามจังหวัดชายเเดนใต้ไว้ให้อยู่นานเเต่ก็มีระเบิดเกิดขึ้นเพราะเราทุกคนไม่มามัคคีเเเละพวกเราจงบรักษาสามจังหวัดภาคใต้ไว้ให้ลูกหลานของพวกเรามายังอยู่บนพื้นดินใต้ได้

                  วิถีของคนในสามจังหวัดชายเเดนใต้ก็ตามที่ได้อะิบายไปตามเนื้อหาต่างๆ ดังนั้นคนไทยเราจงมีความสามัคคีเเละมีความรู้เเพ้รู้ชนะจึงจะได้ไม่เกิดเหตุการรืที่ไม่สงบเเละถ้าเราคนไทยทุกคนปฏบัติตามหลักของพระบาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็จะไม่เกิดเหตุการณืทุกๆ อย่าก็จะสงบเเละถ้าไม่เกิดขึ้นเเละถ้าเราใช่หลักเศษฐกิจพอเพียงปลูกผักเลี้ยงสัตว์เเละทำของใช่หรือสบู่ของใช่นั้นเราสามารถนำมาขายได้เเละนำทาใช่เองของที่จะนำมาขายก็เช่นเตียงหวายพัดไม้ไผ่เเบบสารกระเช้าผลไม้เป็นต้นเเละถ้าคนไทยเรายดหลักพ่อหลวงหรือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็จะไม่มีเหตุการร์ที่ไม่สงบเกิดขึ้นอีกถ้าคนไทยเราหันมาจับมือปรองครองกับสามจังหวัดชายเเดนใต้ก็จะอยู่มายืนอยูบนพื้นได้



 


                               วิถีชีวิตสามจังหวัดชายเเดนใต้

                 วิถีชีวิตสามจังหวัดชายเเดนใต้  มีการดำรงชีวิตเเบบเรียบง่ายไม่หรุหราเเละปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงเเละสามจังหวัดของเราเป็นจังหวัดต้นเเบบเพราะปฏัติบัตามหลักการของภาคใต้มาก มากเพราะมีเหตุการณ์ที่ไม่สงบเเละเหตุการที่เลวร้ายเกิดขึ้นมามากมายที่เราไม่ครวคิดว่าจะเิกดขึ้นเเต่เราก็ยอมรับกับสิ่งที่เกิดขึ้นให้ได้เเต่สามจังหวัดชายเเดนใต้มีดีที่ว่าเลี้ยงชีวิตเเบบพอเพียงเเละทำของขายเเต่เราจะาสู้เพื่ออนาคลของคนรุ้นหลังที่จะเจริญเติบโตในภายภาคหน้า
                   สามจังหวัดชายเเดนใต้เป็นส่วนหยึ่งของประเทศไทยที่อยู่สุดปรายด้ามขวานเเละเป็นจังหวัดที่อยู่ติดกับชายเเดนมาเลเชียวึ้งเป้นทางผ่านของสินค้าต่างๆ ที่จะนำเข้ามาภายในปรระเทศเช่นรถจักรยานยนต์ผลไม้ กระป๋อง เเละสินค้าต่างๆอีกมากมายเเละจังหวัดชายเเดนใต้ยังมีสถานที่ท่องเที่ยวมากมายเช่นน้ำตกซีโป น้ตกชักวาริน สวนพิกทอง อ่าวมะนาว หาดนราทัศนืเเละมีมสิด300ปี เป้นต้น เเละการดำรงชีวิตของต้นในสามจังหวัดชายเเดนใต้นี้ีการดำรงชีวิตเเบบเรียบง่ายเพราะปกัติตามหลักเศราฐกิจพอเพียงอาทิเช่นปลุกพืชผักสวนครัวได้รับประทานเองเเละถ้าทานไม่หมดก็สามารถนำไปขายได้หรือนำไปเเบ่งปันให้เพื่อนบ้าน ของใช่มีเครื่องสาน เเละที่นั้งไ ม่ไผ่เป็นต้นอีกสวนหนึ่งในเเต่ละวันมีเหตุการณ์ไม่สงบเกิดขึ้นมากมายเช่นยิงครู ยิงทหารเเละพวกเราครวรักษาสามจังหวัดชายเเดนใต้ไว้ให้อยู่นานเเต่ก็มีระเบิดเกิดขึ้นเพราะเราทุกคนไม่มามัคคีเเเละพวกเราจงบรักษาสามจังหวัดภาคใต้ไว้ให้ลูกหลานของพวกเรามายังอยู่บนพื้นดินใต้ได้

                  วิถีของคนในสามจังหวัดชายเเดนใต้ก็ตามที่ได้อะิบายไปตามเนื้อหาต่างๆ ดังนั้นคนไทยเราจงมีความสามัคคีเเละมีความรู้เเพ้รู้ชนะจึงจะได้ไม่เกิดเหตุการรืที่ไม่สงบเเละถ้าเราคนไทยทุกคนปฏบัติตามหลักของพระบาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็จะไม่เกิดเหตุการณืทุกๆ อย่าก็จะสงบเเละถ้าไม่เกิดขึ้นเเละถ้าเราใช่หลักเศษฐกิจพอเพียงปลูกผักเลี้ยงสัตว์เเละทำของใช่หรือสบู่ของใช่นั้นเราสามารถนำมาขายได้เเละนำทาใช่เองของที่จะนำมาขายก็เช่นเตียงหวายพัดไม้ไผ่เเบบสารกระเช้าผลไม้เป็นต้นเเละถ้าคนไทยเรายดหลักพ่อหลวงหรือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็จะไม่มีเหตุการร์ที่ไม่สงบเกิดขึ้นอีกถ้าคนไทยเราหันมาจับมือปรองครองกับสามจังหวัดชายเเดนใต้ก็จะอยู่มายืนอยูบนพื้นได้



 


                                                   วิถีชีวิตสามจังหวัดชายเเดนใต้
                    วิถีชีวิตสามจังหวัดชายเเดนภาคใต้ มีการดำรงชีวิตเเบบเรียบง่ายไม่หรูหราเเละสามจังหวัดของเราส่วนหนึ่งเป็นจังหวัดต้นเเบบเพราะปฏบัติตามหลักการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยุ่หัวซึ้งท่านได้ทรงห่วงใย พสกนิกรในสามจังหวัดชายเเดนภาคใต้มากเราะมีเหตุการที่ไม่สงบเเละเหตุการที่เลวร้ายเกิดขึ้นมากมายที่เราไม่คิดว่าจะเกิดจะเกิดขึ้นเเต่เราก็ต้องยอมรับกับสิ่งที่เกิดขึ้นให้ได้เพื่ออนาคลของคนรุนหลังที่จะเจริญเติบโตในภายภาคหน้า

                     สามจังหวัดชายเเดนภาคใต้เป็นส่วนหหนึ่งของประเทศไทยที่อยู่สุดปรายด้ามขวานเเละเป็นจังหวัดที่อยู่ติดกับชายเเดนมาเลเชียซึ้งเป็นทางผ่านของสินค้าต่างๆ ที่จะนำเข้ามาในประเทศเช่น
รถจักรยานยนต์ เเละผลไม้กระป๋อง เเละจังหวัดชายเเดนใต้ยังมีสถานที่ท่องเที้ยวมากมายเช่นน้ำตกซีโปน้ำตกชักวาริน สวนพิกุลทอง อ่าวมะนาว หาดนราทัศน์เเละมีมัสยิด300ปี เป็นต้น เเละการดำรงชีวิตของคนในสามจังหวัดชายใต้นี้มีการดำรงชีวิตเเบบเรียบง่าย เพราะปฏบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงอาทิเช่นปลุกพืชผักสวนครัวได้รับประทานกินเอง เเละถ้าทานไม่หมด ก็สามารถนำไปขายหรือเเบ่งปันให้เพื่อนบ้านได้อีกส่วนหนึ่งในเเต่ละวันมีเหตุการณที่ไม่สงบเกิดขึ้นมากมายเช่นยิงครู ยิงทหาร เเละพวกเราครวจะรักษาจังหวัดชายเเดนภาคใต้ไว้ให้อยู่ให้นานเเต่ก็มีระเบิดเกิดขึ้นเพราะเราทุกคนไม่สามัคคีเลยเเต่ความสามัคคีเเละพวกเราจะรักษาสามจังหวัดชายเเดนใต้ไว้ให้ลูกหลานของพวกเรามายืนอยุ่บนพื้นดินใต้ได้
                     วิถีชีวิตของสามจังหวัดชายเเดนใต้ก็ตามที่ได้อธิบายไปในเนื้อหาต่างๆ ดังนั้นคนเราจึงมีความสามัคคีเเละมีความรู้เเพ้รู้ชนะจะได้ไม่ให้เกิดเหตุการณ์ที่ไม่สงบเเละถ้าพวกเราปฏบัติตามหลักของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็จะไม่เกิดเหตุการร์ที่ไม่ครวเกิดอีกเเละทำตามหลักเศษฐกิจพอเพียงเท่านั้นคนไทยเเละพี่น้องสามจังหวัดชายเเดนใต้ก็จะไม่เกิดเหตุการณต่างๆเเละถ้าเราสมมัคคีกับทุกๆคนอีกอย่าก็จะสงบเเละไม่เกิดขึ้นอีก

                                                   วิถีชีวิตสามจังหวัดชายเเดนใต้
                    วิถีชีวิตสามจังหวัดชายเเดนภาคใต้ มีการดำรงชีวิตเเบบเรียบง่ายไม่หรูหราเเละสามจังหวัดของเราส่วนหนึ่งเป็นจังหวัดต้นเเบบเพราะปฏบัติตามหลักการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยุ่หัวซึ้งท่านได้ทรงห่วงใย พสกนิกรในสามจังหวัดชายเเดนภาคใต้มากเราะมีเหตุการที่ไม่สงบเเละเหตุการที่เลวร้ายเกิดขึ้นมากมายที่เราไม่คิดว่าจะเกิดจะเกิดขึ้นเเต่เราก็ต้องยอมรับกับสิ่งที่เกิดขึ้นให้ได้เพื่ออนาคลของคนรุนหลังที่จะเจริญเติบโตในภายภาคหน้า

                     สามจังหวัดชายเเดนภาคใต้เป็นส่วนหหนึ่งของประเทศไทยที่อยู่สุดปรายด้ามขวานเเละเป็นจังหวัดที่อยู่ติดกับชายเเดนมาเลเชียซึ้งเป็นทางผ่านของสินค้าต่างๆ ที่จะนำเข้ามาในประเทศเช่น
รถจักรยานยนต์ เเละผลไม้กระป๋อง เเละจังหวัดชายเเดนใต้ยังมีสถานที่ท่องเที้ยวมากมายเช่นน้ำตกซีโปน้ำตกชักวาริน สวนพิกุลทอง อ่าวมะนาว หาดนราทัศน์เเละมีมัสยิด300ปี เป็นต้น เเละการดำรงชีวิตของคนในสามจังหวัดชายใต้นี้มีการดำรงชีวิตเเบบเรียบง่าย เพราะปฏบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงอาทิเช่นปลุกพืชผักสวนครัวได้รับประทานกินเอง เเละถ้าทานไม่หมด ก็สามารถนำไปขายหรือเเบ่งปันให้เพื่อนบ้านได้อีกส่วนหนึ่งในเเต่ละวันมีเหตุการณที่ไม่สงบเกิดขึ้นมากมายเช่นยิงครู ยิงทหาร เเละพวกเราครวจะรักษาจังหวัดชายเเดนภาคใต้ไว้ให้อยู่ให้นานเเต่ก็มีระเบิดเกิดขึ้นเพราะเราทุกคนไม่สามัคคีเลยเเต่ความสามัคคีเเละพวกเราจะรักษาสามจังหวัดชายเเดนใต้ไว้ให้ลูกหลานของพวกเรามายืนอยุ่บนพื้นดินใต้ได้
                     วิถีชีวิตของสามจังหวัดชายเเดนใต้ก็ตามที่ได้อธิบายไปในเนื้อหาต่างๆ ดังนั้นคนเราจึงมีความสามัคคีเเละมีความรู้เเพ้รู้ชนะจะได้ไม่ให้เกิดเหตุการณ์ที่ไม่สงบเเละถ้าพวกเราปฏบัติตามหลักของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็จะไม่เกิดเหตุการร์ที่ไม่ครวเกิดอีกเเละทำตามหลักเศษฐกิจพอเพียงเท่านั้นคนไทยเเละพี่น้องสามจังหวัดชายเเดนใต้ก็จะไม่เกิดเหตุการณต่างๆเเละถ้าเราสมมัคคีกับทุกๆคนอีกอย่าก็จะสงบเเละไม่เกิดขึ้นอีก

วิถีชีวิตสามจังหวัดชายเเดนใต้

                                                   วิถีชีวิตสามจังหวัดชายเเดนใต้
                    วิถีชีวิตสามจังหวัดชายเเดนภาคใต้ มีการดำรงชีวิตเเบบเรียบง่ายไม่หรูหราเเละสามจังหวัดของเราส่วนหนึ่งเป็นจังหวัดต้นเเบบเพราะปฏบัติตามหลักการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยุ่หัวซึ้งท่านได้ทรงห่วงใย พสกนิกรในสามจังหวัดชายเเดนภาคใต้มากเราะมีเหตุการที่ไม่สงบเเละเหตุการที่เลวร้ายเกิดขึ้นมากมายที่เราไม่คิดว่าจะเกิดจะเกิดขึ้นเเต่เราก็ต้องยอมรับกับสิ่งที่เกิดขึ้นให้ได้เพื่ออนาคลของคนรุนหลังที่จะเจริญเติบโตในภายภาคหน้า

                     สามจังหวัดชายเเดนภาคใต้เป็นส่วนหหนึ่งของประเทศไทยที่อยู่สุดปรายด้ามขวานเเละเป็นจังหวัดที่อยู่ติดกับชายเเดนมาเลเชียซึ้งเป็นทางผ่านของสินค้าต่างๆ ที่จะนำเข้ามาในประเทศเช่น
รถจักรยานยนต์ เเละผลไม้กระป๋อง เเละจังหวัดชายเเดนใต้ยังมีสถานที่ท่องเที้ยวมากมายเช่นน้ำตกซีโปน้ำตกชักวาริน สวนพิกุลทอง อ่าวมะนาว หาดนราทัศน์เเละมีมัสยิด300ปี เป็นต้น เเละการดำรงชีวิตของคนในสามจังหวัดชายใต้นี้มีการดำรงชีวิตเเบบเรียบง่าย เพราะปฏบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงอาทิเช่นปลุกพืชผักสวนครัวได้รับประทานกินเอง เเละถ้าทานไม่หมด ก็สามารถนำไปขายหรือเเบ่งปันให้เพื่อนบ้านได้อีกส่วนหนึ่งในเเต่ละวันมีเหตุการณที่ไม่สงบเกิดขึ้นมากมายเช่นยิงครู ยิงทหาร เเละพวกเราครวจะรักษาจังหวัดชายเเดนภาคใต้ไว้ให้อยู่ให้นานเเต่ก็มีระเบิดเกิดขึ้นเพราะเราทุกคนไม่สามัคคีเลยเเต่ความสามัคคีเเละพวกเราจะรักษาสามจังหวัดชายเเดนใต้ไว้ให้ลูกหลานของพวกเรามายืนอยุ่บนพื้นดินใต้ได้
                     วิถีชีวิตของสามจังหวัดชายเเดนใต้ก็ตามที่ได้อธิบายไปในเนื้อหาต่างๆ ดังนั้นคนเราจึงมีความสามัคคีเเละมีความรู้เเพ้รู้ชนะจะได้ไม่ให้เกิดเหตุการณ์ที่ไม่สงบเเละถ้าพวกเราปฏบัติตามหลักของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็จะไม่เกิดเหตุการร์ที่ไม่ครวเกิดอีกเเละทำตามหลักเศษฐกิจพอเพียงเท่านั้นคนไทยเเละพี่น้องสามจังหวัดชายเเดนใต้ก็จะไม่เกิดเหตุการณต่างๆเเละถ้าเราสมมัคคีกับทุกๆคนอีกอย่าก็จะสงบเเละไม่เกิดขึ้นอีก

วันอาทิตย์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2557

เรียงความเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง(ครั้งที่ 3)

เรียงความเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง(ครั้งที่ 1)
           เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงชี้แนะให้ชาวไทยได้ปฏิบัติ เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตได้โดยไม่เดือดร้อน มีความเป็นอยู่อย่างประมาณตน สามารถพึ่งพาตนเองได้และนำมาพัฒนาชุมชนก็จะเป็นชุมชนที่เข้มแข็งของประเทศชาติต่อไป
           ครอบครัวของฉันก็เป็นอีกครอบครัวหนึ่ง ที่เจริญรอยตามปรัชญาเศรษฐกิจพองเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งแบ่งเนื้อที่ออกเป็น 10:30:30:30:ที่อยู่อาศัย 10% ปลูกข้าว 30% เมื่อเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จแล้ว ก็ปลูกดอกไม้ไว้ตัดขายเป็นรายได้พิเศษ เลี้ยงสัตว์ 30% เพื่อรับประทานอาหารและขายส่วนมูลก็ทำเป็นปุ๋ยและสุดท้ายปลูกพืชผัก พืชสวน สมุนไพรต่างๆ ทุกๆครั้งที่เราก็เก็บผลไม้หรือผักเราก็จะทำไปแปรรูปตามชนิดของผลผลิต ที่เราได้ เช่น ผลไม้ ก็นำไปทำเป็นเครื่องดื่ม ผักก็นำไปดอง สมุนไพรก็นำไปทำเป็นยาหรือเครื่องสำอาง ขายที่สหกรณ์ร้านค้าของชุมชน ตอนนี้ฐานของครอบครัวของฉันดีขึ้นแล้ว พ่อกับแม่ไม่ต้องออกไปทำงานไกลๆ และท่านทั้งสองยังสอนอีกว่า เราต้องรู้จักทำบัญชีรับ-จ่าย เพื่อให้รู้ว่าเราพอเพียงรึยัง
            เศรษฐกิจในครอบครัวหรือชุมชนอาจเป็นเพียงจุดเล็กๆเมื่อเทียบกับเศรษฐกิจของประเทศ แต่ฉันคิดว่าเศรษฐกิจของชุมชนมีความสำคัญมาก เพราะเมื่อชาวในชุมชนรู้จักพึ่งพาตนเองและดำเนินชีวิตอยู่บนทางสายกลาง ดังที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงชี้แนะแล้ว ก็จะทำให้เศรษฐกิจของชุมชนดีขึ้น และจะส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศโตมากขึ้นด้วย



เรียงความเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง(ครั้งที่ 2)
           หากกล่าวคำว่า "เศรษฐกิจพอเพียง" เชื่อได้เลยว่าหลายๆ ประเทศมากมายในโลกนี้กำลังประสบกับปัญหานี้อยู่ ซึ่งแต่ละประเทศก็ต้องแก้ปัญหานี้ตามแบบฉบับหรือนโยบายของผู้นำทางการเมืองของประเทศนั้นๆ ประเทศไทยในปัจจุบันก็กำลังประสบกับปัญหาเศรษฐกิจเช่นเดียวกัน แต่ว่าเราก็โชคดีอย่างมากที่มีบุคคลที่มีความสำคัญมากสำหรับคนไทยทุกคน ท่านได้ทรงแนะนำแนวทางการแก้ปัญหานั้ขึ้นมา บุคคลท่านนั้นคือ องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวของพวกเรานั้นเอง ผู้ที่คิดค้นปรัชญา "เศรษฐกิจพอเพียง"
           ครอบครัวของฉันก็เป็นอีกครอบครัวหนึ่ง ที่เจริญรอยตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งแบ่งเนื้อที่ออกเป็น 10:30:30:30:ที่อยู่อาศัย 10% ปลูกข้าว 30% เพื่อรับประทานอาหารและขายส่วนมูลก็ทำเป็นปุ๋ยและสุดท้ายปลูกพืชผัก พืชสวน สมุนไพรต่างๆ ทุกๆครั้งที่เราก็เก็บผลไม้หรือผักเราก็จะทำไปแปรรูปตามชนิดของผลผลิตที่เราได้ เช่น ผลไม้ก็นำไปทำเป็นเครื่องดื่ม ผักก็นำไปดอง สมุนไพรก็นำไปทำเป็นยาหรือเครื่องสำอาง ขายที่สหกรณ์ร้านค้าของชุมชน ตอนนี้ฐานของครอบครัวของฉันดีขึ้นแล้ว พ่อกีบแม่ไม่ต้องออกไปทำงานไกลๆ และท่านทั้งสองยังสอนอีว่า เราต้องรู้จักทำบัญชีรับ-จ่าย เพื่อให้รู้ว่าเราพอเพียงรึยังถ้ายังไ่พอเพียงควรทำตามปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงชี้แนะให้ชาวไทยได้ปฏิบัติ เพื่อให้สามารถดำรงีวิตได้โดยไม่เดือดร้อน มีความเป็นอยู่อย่างประมาณตน สามารถพึ่งพาตนเองและนำมาพัฒนาชุมชนก็จะเป็นชุมชนที่เข้มแข็งของประเทศชาติต่อไป
          เศรษฐกิจในครอบครัวหรือชุมชนอาจเป็นเพียงจุดเล็กๆ เมื่อเทียบกับเศรษฐกิจของประเทศ แต่ฉันคิดว่าเศรษฐกิจของชุมชนมีความสำคัญมาก เพราะเมื่อชาวในชุมชนรู้จักพึ่งพาตนเองและดำเนินชีวิตยู่บนทางสายกลาง ดังที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงชี้แนะแล้ว ก็จะทำให้เศรษฐกิจของชุมชนดีขึ้นและส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศโตมากขึ้นด้วย




เรียงความเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง(ครั้งที่ 3)
          หากกล่าวคำว่า "เศรษฐกิจพอเพียง" เชื่อได้เลยว่าหลายๆ ประเทศมากมายในโลกนี้ กำลังประสบกับปัญหานี้อยู่ ซึ่งแต่ละประเทศก็ต้องแก่ปัญหานี้ตามแบบฉบับหรือนโยของผู้นำทางการเมืองของประเทศนั้นๆ ประเทศไทยในปัจจุบันก็กำลังประสบกับปัญหาเศรษฐกิจพอเพียงเช่นเดียวกันแต่ว่าเราก็โชคดีอย่างมากที่มีบุคคลที่มีความสำคัญมากสำหรับคนไทยทุกคน ทา่นได้ทรงแนะนำแนวทางแก้ปัญหานี้ขึ้นมา บุคคลทา่นนั้นคือ องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวของพวกเรานั้นเอง ผู้ที่คิดค้นปรัชญา "เศรษฐกิจพอเพียง"
          ครอบครัวของฉันก็เป็นอีกครอบครัวหนึ่ง ที่เจริญรอยตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งแบ่งเนื้อที่อยู่อาศัย 10% ปลูกข้าว 30% เพื่อรับประทานอาหารและขายส่วนมูลก็ทำเป็นปุ๋ย และสุดท้ายปลูกพืชผัก พืชสวน สมุนไพรต่างๆ ทุกๆ ครั้งที่เราเก็บผลไม้ หรือผักเราก็จะทำไปแปรรูปตามชนิดของผลผลิตที่เราได้ เช่น ผลไม้ก็นำไปทำเป็นเครื่องดื่ม ผักก็นำไปดอง สมุนไำรก็นำไปทำเป็นยาหรือเครื่องสำอาง ขายที่สหกรณ์ร้านค้าของชุมชน ตอนนี้ฐานของครอบครัวของฉันดีขึ้นแล้ว พ่อกับแม่ไม่ต้องออกไปทำงานไกลๆ และท่านทั้งสองยังสอนอีกว่า เราต้องรู้จักทำบัญชีรายรับรายจ่าย เพื่อให้รู้ว่าเราพอเพียงหรือยัง ถ้าหากว่าเรายังไม่พอเพียง เราก็ต้องทำตามที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงชี้แนะให้ชาวไทยได้ปฏิบัติตาม เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตได้โดยไม่เดือดร้อน มีความเป็นอยู่อย่างประมาณตน สามารถพึ่งพาตนเองได้และนำมาพัฒนาชุมชนก็จะเป็นชุมชนที่เข้มแข็งของประเทศชาติไป
          เศรษฐกิจในครอบครัวหรือชุมชนอาจเป็นเพียงจุดเล็กๆ เมื่อเทียบกับเศรษฐกิจของประเทศ แต่ฉันคิดว่าเศรษฐกิจของชุมชนมีความสำคัญมาก เพราะเมื่อชาวบ้านในชุมชนรู้จักพึ่งพาตนเองและดำเนินชีวิตอยู่บนทางสายกลาง ดังที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงชี้แนะแล้ว ก็จะทำให้เศรษฐกิจของชุมชนดีขึ้นและจะส่งผลให้เศรษฐกิจของประุเทศโตมากขึ้นด้วย

           

เรียงความเรื่ยง หาดนราทัศน์

เรียงความเรื่ยง หาดนราทัศน์


             
               หาดนราทัศน์ จะอยู่เลยจากตัวเมืองนราธิวาสไปตามถนนพิชิตบำรุง  ประมาณ 5 กิโลเมตร  มีแนวสนรื่นรมเหมาะสำหรับพักผ่อนหย่อนใจ นอกจากนี้ยังมี หมู่บ้านชาวประมง ตั้งจัดกระจายตามริมแม่น้ำบางนรา  บริเวณเวิ่งอ่าวมีเรือกอและของชาวประมง  จอดอยู่มากมาย  นักทอ่งเที่ยวสามารถใช้ บริการรถจักรยานยนต์ รถสามล้อถีบ และรถสองแถวเส้ก จากตัว เมืองนราธิวาสไปยังหาดนราทัศน์ได้สะดวก  และมีฝุ่งปลามากมาย  และทะเลใสโดยนักท่องเที่ยวมาเล่นอย่างสนุกสนาน
             นอกจากนี้ยังมีร้านอาหารหลายร้านทีตั้งอยู่ แต่ละร้านก็จะมีที่เด็ดขายแต่ละร้าน และยังมีร้านขายของต่างๆ เช่น ร้านขายเสื้อราคาถูก  และยังมีร้านขายของเล่นของเด็กๆอีกมากมาย  และยังมีสนามเด็กเล่น ก็จะมีเด็กๆมาเล่นเป็นอย่างมาก  และยังมีร้านขายรองเท้าถูกๆ  และในช่วงเทศการวันรายอ ทุกๆปี หาดนราทัศน์ก็จะจัดงานเทศการวันรายอ  ก็จะมีการปาโป่ง  และการละเล่นต่างๆที่สนุกสนาน  และมีผู้คนเป็นสวนมากไปที่หาดนราทัศน์ไปเที่ยว ไปเล่นน้ำ  และทุกคนก็จะพาผู้ปกครองและครอบครัวไป  เพราะที่นั้นมีน้ำมีของเล่นต่างๆ
             หาดนราทัศน์ มีความงดงามและโดดเด็น  อย่างเห็นได้ชัด คือ ชายหาดจะมีทรายสีขาว และชายหาดจะมีความโค้งยาวต่อเนื่องประมาณ ๕ กิโลเมตรและยังมีเขื่อนกันคลื่นที่เป็นที่เด่นของที่นี่และยังมีหมู่บ่านของชาวประมงซึ่งแสดงถึงความรักและความสามัคคี  ในตอนเย็นๆชาวบ้านจะออกมาขอยอาหารทะเลซึ่งราคาก็ย่อมเยาว์และทุกๆปีจะจัดงานเทศกาลวันฮารีรายอมีการเล่นเกมต่างๆแสดงให้เห็นถึงความรักความสามัคคีของคนในจังหวัดนราธิวาส





เรียงความเรื่อง เรือกอและนรา

                                                         
                                                    เรียงความเรื่อง  เรือกอและนรา (ครั้งที่๑)
           
                เรือกอและ หมายถึง เรือหาปลาของชาวประมงในท้องที่หมู่บ้านชาวทะเลทางภาคใต้ของประเทศไทยมีมากในจังหวัดปัตตานีและนราธิวาส   เรือกอและมีรูปร่างลักษณะและส่วนประกอบที่ผิดแปลกจากเรืออื่นๆ ความสวยงามของเรืออยู่ที่การใช้ลวดลายและสีสันต่างๆ   ปัจจุบันเรือกอและถูกดัดแปลงจากการใช้ใบมาเป็นการใช้เครื่องยนต์เพื่อความเหมาะสมกับภาวะของเศรษฐกิจ
              เรือกอและเป็นเรือประมงที่ใช้ในแถบจังหวัดภาคใต้ตอนล่างมีลักษณะเป็นเรือยาวที่ต่อด้วยไม่กระดานโดยทำให้ส่วนหัวและส่วนท้ายสูงขึ้นจากลำเรือให้ดูสวยงามนิยมทาสีและเขียนลวดลายด้วยสีฉุดฉาดเป็นลายไทยหรือลายอินโดนีเซีย   ซึ่งนำมาประยุกต์ให้เหมาะกับลำเรือ   เรือกอและมี 2 แบบ คือ แบบหัวสั้นและแบบหัวยาวขนาดของเรือแบ่งเป็น 4 ขนาด  โดยยึดความยาวของลำเรือเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง คือ ขนาดใหญ่ยาว 25 ศอก ขนาดกลางยาว 22 ศอก ขนาดเล็กยาว 20 ศอก และขนาดเล็กมากเรียกว่าลูกเรือกอและยาว 6 ศอก โดยประมาณ
              เรือกอและส่วนใหญ่ใชัในการประมงโดยนำออกไปทำการประมง   ในทะเลและนิยมทำเป็นพวกๆ พวกละ 5 ถึง 6 ลำ นอกจากนี้ยังใช้สำหรับแข่งขันโดยใช้ฝีพายหรือใช้ใบก็ได้ทุกครั้งที่จะออกเรือก่อนขึ้นเรือชาวประมง   จะให้ความเคารพเรือกอและของตนโดยการถอดรองเท้าทุกครั้งและเมื่อเรือจอดอยู่บนฝั่งก็ห้ามผ่านไกล้ๆ หรือเล่นบริเวณหัวเรือไม่พูดจาเชิงอวดดีหรือพูดในสิ่งที่ไม่เป็นมงคลเพราะเชื่อว่ามีพระเจ้านับว่าเป็นเรือที่แปลกตา   และหาดูได้ยากในจังหวัดอื่นๆ


เรียงความเรื่อง  เรือกอและนรา  (ครั้งที่๒)

              
             เรือกอและเป็นเรือหาปลาของชาวประมง   เรือกอและเป็นเรือที่ใช้ในการแข่งขัน   เรือกอและมี
ความสวยงาม   เรือกอและมีจำนวนมากในจังหวัดปัตตานีและนราธิวาส   เรือกอและมีลวดลายที่โดดเด่น   เรือกอและมีรูปร่างลักษณะที่แปลกจากเรืออื่นๆ เรือกอและเป็นพาหนะของชาวใต้และปัจจุบันเรือกอและถูกดัดแปลงจากการใช้ไม้พายมาเป็นการใช้เครื่องยนต์ เรือกอและเป็นเรือที่ชาวใต้นิยมใช้กันมากและสืบทอดกันมาจนสู่รุ่นลูกรุ่นหลาน
                เรือกอและ หมายถึง เรือหาปลาของชาวประมงในท้องที่หมู่บ้านชาวทะเลทางภาคใต้ของประเทศไทยมีมากในจังหวัดปัตตานีและนราธิวาส เรือกอและมีรูปร่างลักษณะและส่วนประกอบที่ผิดแปลกจากเรืออื่นๆ ความสวยงามของเรืออยู่ที่กาใช้ลวดลายและสีสันต่างๆ ปัจจุบันเรือกอและถูกดัดแปลงจากการใช้ใบมาเป็นการใช้เครื่องยนต์เพื่อความเหมาะสมกับภาวะของเศรษฐกิจ   เรือกอและเป็นเรือประมงที่ใช้ในแถบจังหวัดภาคใต้ตอนล่างมีลักษณะเป็นเรือยาวที่ต่อด้วยไม้กระดานโดยทำให้ส่วนหัวและส่วนท้ายสูงขึ้นจากลำเรือให้ดูสวยงามนิยมทาสีและเขียนลวดลายด้วยสีฉุดฉาด เป็นลายไทยหรือลายอินโดนีเซีย ซึ่งนำมาประยุกต์ให้เหมาะกับลำเรือ เรือกอและมี 2 แบบ คือ แบบหัวสั้นและแบบหัวยาวขนาดของเรือแบ่งเป็น 4 ขนาดโดยยึดความยาวของลำเรือเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง คือ ขนาดใหญ่ยาว 25 ศอก ขนาดกลางยาว 22 ศอก ขนาดเล็กยาว 20 ศอก และขนาดเล็กมากเรียกว่าลูกเรือกอและยาว 6 ศอก โดยประมาณ
                เรือกอและส่วนใหญ่ใช้ในการประมงโดยนำออกไปทำการประมงในทะเลนิยมทำเป็นพวกๆ พวกละ 5 ถึง 6 ลำนอกจากนี้ยังใช้สำหรับแข่งขันโดยใช้ฝีพายหรือใช้ใบก็ได้ทุกครั้งที่จะออกเรือก่อนขึ้นเรือ ชาวประมง จะให้ความเคารพเรือกอและของตนโดยการถอดรองเท้าทุกครั้งและเมื่อเรือจอดอยู่บนฝั่งก็ห้ามผ่านไกล้ๆ หรือเล่นบริเวณหัวเรือ ไม่พูดจาเชิงอวดดี่หรือพูดในสิ่งที่ไม่เป็นมงคลเพราะเชื่อว่ามีพระเจ้านับว่าเป็นเรือที่แปลกตาและหาดูได้ยากในจังหวัดอื่นๆ
       














                                                 เรียงความเรื่อง  เรือกอและ (ครั้งที่๓)





             เรือกอและเป็นเรือหาปลาของชาวประมง   เรือกอและเป็นเรือที่ใช้ในการแข่งขัน   เรือกอและมีความสวยงาม   เรือกอและมีจำนวนมากในจังหวัดปัตตานีและนราธิวาส   เรือกอและมีลวดลายที่โดดเด่น   เรือกอและมีรูปร่างลักษณะที่แปลกจากเรืออื่นๆ เรือกอและเป็นพาหนะของชาวใต้และปัจจุบันเรือกอและถูกดัดแปลงจากการใช้ไม้พายมาเป็นการใช้เครื่องยนต์   เรือกอและเป็นเรือที่ชาวใต้นิยมใช้กันมากและสืบทอดกันมาจนสู่รุ่นลูกรุ่นหลาน


              เรือกอและ หมายถึง เรือหาปลาของชาวประมงในท้องที่หมู่บ้านชาวทะเลทางภาคใต้ของประเทศไทยมีมากในจังหวัดปัตตานีและนราธิวาส   เรือกอและมีรูปร่างลักษณะและส่วนประกอบที่ผิดแปลกจากเรืออื่นๆ ความสวยงามของเรืออยู่ที่การใช้ลวดลายและสีสันต่างๆ ปัจจุบันเรือกอและถูกดัดแปลงจากการใช้ใบมาเป็นการใช้เครื่องยนต์เพื่อความเหมาะสมกับภาวะของเศรษฐกิจ   เรือกอและเป็นเรือประมงที่ใช้ในแถบจังหวัดภาคใต้ตอนล่างมีลักษณะเป็นเรือยาวที่ต่อด้วยไม้กระดานโดยทำให้ส่วนหัวและส่วนท้ายสูงขึ้นจากลำเรือให้ดูสวยงาม นิยมทาสีและเขียนลวดลายด้วยสีฉุดฉาดเป็นลายไทยหรือลายอินโดนีเซีย ซึ่งนำ้มาประยุกต์ให้เหมาะกับลำเรือ   เรือกอและมี 2 แบบ คือ แบบหัวสั้นและแบบหัวยาวขนาดของเรือแบ่งเป็น 4 ขนาด โดยยึดความยาวของลำเรือเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง คือ ขนาดใหญ่ยาว 25 ศอก ขนาดกลางยาว 22 ศอก ขนาดเล็กยาว 20 ศอก และขนาดเล็กมาก เรียกว่า ลูกเรือกอและยาว 6 ศอก โดยประมาณ
เพิ่มคำอธิบายภาพ

              เรือกอและส่วนใหญ่ใช้ในการประมงโดยนำออกไปทำการประมงในทะเลและนิยมทำเป็นพวกๆ พวกละ 5 ถึง 6 ลำ นอกจากนี้ยังใช้สำหรับแข่งขันโดยใช้ฝีพายหรือใช้ใบก็ได้ทุกครั้งที่จะออกเรือก่อนขึ้นเรือชาวประมงจะให้ความเคารพเรือกอและของตนโดยการถอดรองเท้าทุกครั้งและเมื่อเรือจอดอยู่บนฝั่งก็ห้ามผ่านไกล้ๆ หรือเล่นบริเวณหัวเรือไม่พูดจาเชิงอวดดีหรือพูดในสิ่งที่ไม่เป็นมงคลเพราะเชื่อว่าพระเจ้านับว่าเป็นเรือที่แปลกตาและหาดูได้ยากในจังหวัดอื่นๆ