วันอาทิตย์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2557

เรียงความเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง(ครั้งที่ 3)

เรียงความเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง(ครั้งที่ 1)
           เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงชี้แนะให้ชาวไทยได้ปฏิบัติ เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตได้โดยไม่เดือดร้อน มีความเป็นอยู่อย่างประมาณตน สามารถพึ่งพาตนเองได้และนำมาพัฒนาชุมชนก็จะเป็นชุมชนที่เข้มแข็งของประเทศชาติต่อไป
           ครอบครัวของฉันก็เป็นอีกครอบครัวหนึ่ง ที่เจริญรอยตามปรัชญาเศรษฐกิจพองเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งแบ่งเนื้อที่ออกเป็น 10:30:30:30:ที่อยู่อาศัย 10% ปลูกข้าว 30% เมื่อเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จแล้ว ก็ปลูกดอกไม้ไว้ตัดขายเป็นรายได้พิเศษ เลี้ยงสัตว์ 30% เพื่อรับประทานอาหารและขายส่วนมูลก็ทำเป็นปุ๋ยและสุดท้ายปลูกพืชผัก พืชสวน สมุนไพรต่างๆ ทุกๆครั้งที่เราก็เก็บผลไม้หรือผักเราก็จะทำไปแปรรูปตามชนิดของผลผลิต ที่เราได้ เช่น ผลไม้ ก็นำไปทำเป็นเครื่องดื่ม ผักก็นำไปดอง สมุนไพรก็นำไปทำเป็นยาหรือเครื่องสำอาง ขายที่สหกรณ์ร้านค้าของชุมชน ตอนนี้ฐานของครอบครัวของฉันดีขึ้นแล้ว พ่อกับแม่ไม่ต้องออกไปทำงานไกลๆ และท่านทั้งสองยังสอนอีกว่า เราต้องรู้จักทำบัญชีรับ-จ่าย เพื่อให้รู้ว่าเราพอเพียงรึยัง
            เศรษฐกิจในครอบครัวหรือชุมชนอาจเป็นเพียงจุดเล็กๆเมื่อเทียบกับเศรษฐกิจของประเทศ แต่ฉันคิดว่าเศรษฐกิจของชุมชนมีความสำคัญมาก เพราะเมื่อชาวในชุมชนรู้จักพึ่งพาตนเองและดำเนินชีวิตอยู่บนทางสายกลาง ดังที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงชี้แนะแล้ว ก็จะทำให้เศรษฐกิจของชุมชนดีขึ้น และจะส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศโตมากขึ้นด้วย



เรียงความเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง(ครั้งที่ 2)
           หากกล่าวคำว่า "เศรษฐกิจพอเพียง" เชื่อได้เลยว่าหลายๆ ประเทศมากมายในโลกนี้กำลังประสบกับปัญหานี้อยู่ ซึ่งแต่ละประเทศก็ต้องแก้ปัญหานี้ตามแบบฉบับหรือนโยบายของผู้นำทางการเมืองของประเทศนั้นๆ ประเทศไทยในปัจจุบันก็กำลังประสบกับปัญหาเศรษฐกิจเช่นเดียวกัน แต่ว่าเราก็โชคดีอย่างมากที่มีบุคคลที่มีความสำคัญมากสำหรับคนไทยทุกคน ท่านได้ทรงแนะนำแนวทางการแก้ปัญหานั้ขึ้นมา บุคคลท่านนั้นคือ องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวของพวกเรานั้นเอง ผู้ที่คิดค้นปรัชญา "เศรษฐกิจพอเพียง"
           ครอบครัวของฉันก็เป็นอีกครอบครัวหนึ่ง ที่เจริญรอยตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งแบ่งเนื้อที่ออกเป็น 10:30:30:30:ที่อยู่อาศัย 10% ปลูกข้าว 30% เพื่อรับประทานอาหารและขายส่วนมูลก็ทำเป็นปุ๋ยและสุดท้ายปลูกพืชผัก พืชสวน สมุนไพรต่างๆ ทุกๆครั้งที่เราก็เก็บผลไม้หรือผักเราก็จะทำไปแปรรูปตามชนิดของผลผลิตที่เราได้ เช่น ผลไม้ก็นำไปทำเป็นเครื่องดื่ม ผักก็นำไปดอง สมุนไพรก็นำไปทำเป็นยาหรือเครื่องสำอาง ขายที่สหกรณ์ร้านค้าของชุมชน ตอนนี้ฐานของครอบครัวของฉันดีขึ้นแล้ว พ่อกีบแม่ไม่ต้องออกไปทำงานไกลๆ และท่านทั้งสองยังสอนอีว่า เราต้องรู้จักทำบัญชีรับ-จ่าย เพื่อให้รู้ว่าเราพอเพียงรึยังถ้ายังไ่พอเพียงควรทำตามปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงชี้แนะให้ชาวไทยได้ปฏิบัติ เพื่อให้สามารถดำรงีวิตได้โดยไม่เดือดร้อน มีความเป็นอยู่อย่างประมาณตน สามารถพึ่งพาตนเองและนำมาพัฒนาชุมชนก็จะเป็นชุมชนที่เข้มแข็งของประเทศชาติต่อไป
          เศรษฐกิจในครอบครัวหรือชุมชนอาจเป็นเพียงจุดเล็กๆ เมื่อเทียบกับเศรษฐกิจของประเทศ แต่ฉันคิดว่าเศรษฐกิจของชุมชนมีความสำคัญมาก เพราะเมื่อชาวในชุมชนรู้จักพึ่งพาตนเองและดำเนินชีวิตยู่บนทางสายกลาง ดังที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงชี้แนะแล้ว ก็จะทำให้เศรษฐกิจของชุมชนดีขึ้นและส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศโตมากขึ้นด้วย




เรียงความเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง(ครั้งที่ 3)
          หากกล่าวคำว่า "เศรษฐกิจพอเพียง" เชื่อได้เลยว่าหลายๆ ประเทศมากมายในโลกนี้ กำลังประสบกับปัญหานี้อยู่ ซึ่งแต่ละประเทศก็ต้องแก่ปัญหานี้ตามแบบฉบับหรือนโยของผู้นำทางการเมืองของประเทศนั้นๆ ประเทศไทยในปัจจุบันก็กำลังประสบกับปัญหาเศรษฐกิจพอเพียงเช่นเดียวกันแต่ว่าเราก็โชคดีอย่างมากที่มีบุคคลที่มีความสำคัญมากสำหรับคนไทยทุกคน ทา่นได้ทรงแนะนำแนวทางแก้ปัญหานี้ขึ้นมา บุคคลทา่นนั้นคือ องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวของพวกเรานั้นเอง ผู้ที่คิดค้นปรัชญา "เศรษฐกิจพอเพียง"
          ครอบครัวของฉันก็เป็นอีกครอบครัวหนึ่ง ที่เจริญรอยตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งแบ่งเนื้อที่อยู่อาศัย 10% ปลูกข้าว 30% เพื่อรับประทานอาหารและขายส่วนมูลก็ทำเป็นปุ๋ย และสุดท้ายปลูกพืชผัก พืชสวน สมุนไพรต่างๆ ทุกๆ ครั้งที่เราเก็บผลไม้ หรือผักเราก็จะทำไปแปรรูปตามชนิดของผลผลิตที่เราได้ เช่น ผลไม้ก็นำไปทำเป็นเครื่องดื่ม ผักก็นำไปดอง สมุนไำรก็นำไปทำเป็นยาหรือเครื่องสำอาง ขายที่สหกรณ์ร้านค้าของชุมชน ตอนนี้ฐานของครอบครัวของฉันดีขึ้นแล้ว พ่อกับแม่ไม่ต้องออกไปทำงานไกลๆ และท่านทั้งสองยังสอนอีกว่า เราต้องรู้จักทำบัญชีรายรับรายจ่าย เพื่อให้รู้ว่าเราพอเพียงหรือยัง ถ้าหากว่าเรายังไม่พอเพียง เราก็ต้องทำตามที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงชี้แนะให้ชาวไทยได้ปฏิบัติตาม เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตได้โดยไม่เดือดร้อน มีความเป็นอยู่อย่างประมาณตน สามารถพึ่งพาตนเองได้และนำมาพัฒนาชุมชนก็จะเป็นชุมชนที่เข้มแข็งของประเทศชาติไป
          เศรษฐกิจในครอบครัวหรือชุมชนอาจเป็นเพียงจุดเล็กๆ เมื่อเทียบกับเศรษฐกิจของประเทศ แต่ฉันคิดว่าเศรษฐกิจของชุมชนมีความสำคัญมาก เพราะเมื่อชาวบ้านในชุมชนรู้จักพึ่งพาตนเองและดำเนินชีวิตอยู่บนทางสายกลาง ดังที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงชี้แนะแล้ว ก็จะทำให้เศรษฐกิจของชุมชนดีขึ้นและจะส่งผลให้เศรษฐกิจของประุเทศโตมากขึ้นด้วย

           

1 ความคิดเห็น:

  1. - คำนำยังสั้นเกินไปนะค่ะควรเขียนใหม่และให้น่าสนใจมากกว่านี้ เพราะครูเคยบอกว่าคำนำเป็นส่วนที่สำคัญในการตัดสินใจว่าผู้อ่านจะอ่านเรียงความของเราหรือไม่ เขียนให้น่าสนใจ ให้ดูใบความรู้ประกอบนะค่ะ
    - ควรเพิ่มเติมในส่วนของเนื้อหาให้มากกว่านี้
    - ยังขาดความเป็นเอกภาพ (ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของเนื้อหา)

    ตอบลบ